ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 16, 2018, 08:20:50 pm »






เนื้อหานี้อาจซ้ำกันบังเอิญได้ดูสารคดีเกี่ยวนาง อัมราปาลี ก็เลยอยากอ่านต่อหรือรวบรวมไว้ เพราะน่าสนใจ

แคว้นวัชชี หัวก้าวหน้ากว่ารัฐอื่น เป็นแคว้นแรกที่มีตำแหน่งนครโสเภณี เพื่อ ดูด เงินตราจากต่างประเทศ กษัตริย์เมืองเล็กเมืองน้อยได้ทราบข่าวว่าที่นครไพศาลีมีนางนครโสเภณีที่ เป็นสมบัติของทุกคน ต่างก็ขนเงินมา ทิ้ง ที่เมืองนี้กันปีละจำนวนไม่น้อย ว่ากันว่าค่าอภิรมย์กับนางอัมพปาลี คืนหนึ่งแพงหูฉี่ แต่ก็มี แขก ต่างเมืองมาเยี่ยมสำนักเธอมิขาดสาย

ว่ากันอีกว่า พระเจ้าพิมพิสารเป็นแขกพิเศษของนางอัมพปาลี จนได้บุตรด้วยกันมาคนหนึ่ง นามวิมละ หรือวิมล หนุ่มน้อยวิมล เสด็จพ่อนำไปเลี้ยงไว้ในราชสำนักเมืองราชคฤห์ (ผู้เป็นพ่อยอมรับ โดยมิต้องพิสูจน์ดีเอ็นเอ) ต่อมาวิมลได้ออกบวชและได้บรรลุพระอรหัตผล

พระเจ้าพิมพิสารได้แนวคิดไปจากนี้แหละครับ ภายหลังจึงได้แต่งตั้งนางนครโสเภณีขึ้นที่เมืองราชคฤห์ โดยสถาปนานางสาลวดีเป็นผู้รับตำแหน่งคนแรก และข่าวลืออีกนั่นแหละว่า นางสาลวดีได้กำเนิดบุตรชายและบุตรสาวเพราะความเผลอ นางเลี้ยงบุตรสาวเพื่อสืบทอดตำแหน่ง แต่ไม่ปรารถนาบุตรชาย จึงให้คนนำไปทิ้งไว้ใกล้ ๆ ประตูวัง เจ้าชายอภัย พระราชโอรสพระเจ้าพิมพิสารเสด็จมาพบเข้า นำเด็กน้อยไปเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม

เด็กน้อยคนนี้เป็นผู้มีบุญญาธิการอันได้สั่งสมมาแล้วแต่ปางก่อน เมื่อเจริญวัยมาได้ไปศึกษาวิชาแพทย์แผนโบราณ กลับมาได้เป็นแพทย์ประจำราชสำนัก และเป็นแพทย์ประจำพระองค์ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

ท่านนี้คือหมอชีวกโกมารภัจจ์ น้องสาวของท่านชื่อ สิริมา ต่อมาได้ตำแหน่งนครโสเภณีแทนแม่

ว่ากันว่า หมอชีวกโกมารภัจจ์ แท้ที่จริงคือโอรสพระเจ้าพิมพิสาร กับนางสาลวดี เพราะเหตุนี้จึงเป็นที่โปรดปรานของพระเจ้าพิมพิสารมาก

กลับมายังเรื่องของนางอัมพปาลี ตอนผมศึกษาประวัติพระพุทธศาสนาก็ไม่ทราบว่านางอัมพปาลีตอนหลังได้มาบวชเป็น ภิกษุณี ต่อเมื่อมาอ่านอรรถกถาเถรีคาถาจึงพบว่า อัมพปาลีเถรี ที่แท้ก็คืออดีตนางนครโสเภณีชื่ออัมพปาลีนั้นเอง

หลังจากถวายสวนมะม่วงให้เป็นวัดในพระพุทธศาสนาแล้ว นางได้ฟังธรรมจากพระวิมลเถระ(บุตรชายของนาง)รู้สึกซาบซึ้งในรสพระธรรม จึงออกบวชในสำนักของนางภิกษุณี พิจารณาเห็นความเป็นอนิจจังแห่งสรีรร่างกายของตน ยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนาในไม่ช้าไม่นานก็ได้บรรลุพระอรหัตผล