ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: มีนาคม 18, 2018, 12:05:19 am »






1-IMG700140027
by dimsam dimsam, on Flickr


http://youtu.be/AXQuTbivXsI


ถ่ายภาพโดย....時々कभीकभी一རພຊຍ๛



อำนาจของสมาธินั้น สามารถกด รัก โลภ โกรธ หลง ให้ดับสนิทลงชั่วคราว เมื่อไม่มี รัก โลภ โกรธ หลง ที่เป็นเสนามารคอยรายงานเจ้านายอยู่ พญามารก็มองไม่เห็นนักปฏิบัติชั่วคราว ซึ่งถ้าเราสามารถรักษากำลังใจให้ต่อเนื่องยาวนานได้ กำลังสมาธิก็อาจจะกด รัก โลภ โกรธ หลง ให้ดับไปได้ตลอดกาลแต่เพื่อความปลอดภัย ก็ควรที่จะใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นว่า การเกิดมาในโลกนี้ประกอบไปด้วยความไม่เที่ยง มีการเกิดขึ้นในเบื้องต้น เปลี่ยนแปลงแปรปรวนไปในท่ามกลาง และสลายตัวไปในที่สุด ประกอบไปด้วยความทุกข์ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ วัตถุธาตุ สิ่งของก็มีแต่ความทุกข์ ทุกข์ของการเกิด ทุกข์ของการแก่ ทุกข์ของการเจ็บ ทุกข์ของการตาย ทุกข์ของการพลัดพรากจากของรักของชอบใจ ทุกข์ของการได้สิ่งที่ไม่รักไม่ชอบใจ ปรารถนาที่ไม่สมหวังแม้กระทั่งเรือนชานบ้านช่อง ภูเขาต้นไม้ก็มีแต่ความทุกข์ ก็คือทุกข์ตามสภาพที่เสื่อมสลายไปอยู่ตลอดเวลา แม้กระทั่งภูเขาที่ยิ่งใหญ่ระดับหิมาลัย ท้ายสุดก็จะเสื่อมสลายกลายเป็นเม็ดทราย กลายเป็นฝุ่นดินข้อสุดท้ายก็คือ ร่างกายของเราก็ดี ของบุคคลอื่นก็ดี ของสัตว์อื่นก็ดี หรือสิ่งของต่าง ๆ

ก็ตาม ไม่มีอะไรเป็นตัวตนเราเขาอย่างแท้จริง ประกอบขึ้นมาจากธาตุ ๔ คือดิน คือน้ำ คือลม คือไฟ ให้เราได้อาศัยอยู่ชั่วครั้งชั่วคราวเท่านั้นเมื่อเรามาอาศัยอยู่แล้ว ก็มักจะไปยึดถือว่าเป็นตัวกูของกู ทั้ง ๆ ที่เป็นแค่สมบัติของโลกที่เรายืมมาใช้ชั่วคราว เหมือนกับรถยนต์คันหนึ่งที่เราอาศัยขับอยู่ในระหว่างที่อยู่ในโลกนี้ เมื่อถึงเวลารถหมดสภาพพังลง ตัวเราที่ประกอบคุณงามความดีก็ดี สร้างบาปหาบทุกข์ไว้ก็ตาม ก็ต้องเปิดประตู ทิ้งรถยนต์คันนี้ไปหารถคันใหม่ สร้างบุญไว้มากก็ได้รถยี่ห้อดี ๆ สร้างบาปเอาไว้มาก ก็อาจจะได้จักรยานโปเก ขี่ไปซ่อมไปในเมื่อเป็นเช่นนั้น เมื่อเราเห็นชัดเจนว่าโลกนี้เต็มไปด้วยความทุกข์ หาความเที่ยงแท้แน่นอนไม่ได้ ท้ายสุดก็ไม่มีอะไรหลงเหลือให้เรายึดถือ ทรัพย์สมบัติญาติพี่น้องทั้งหลาย ท้ายสุดก็พลัดพรากจากกันไปถ้าหากว่าเราสามารถถอนใจกับการยึดมั่นถือมั่นทั้งหลายเหล่านี้ได้ เราก็จักเข้าถึงความหลุดพ้น คือพระนิพพาน


เนื้อหาสาระโดย...พระครูวิลาศกาญจนธรรม ดร.วัดท่าขนุน