ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: होशདངພວན2017
« เมื่อ: เมษายน 10, 2018, 09:33:18 pm »







ถ่ายภาพและวีดีโอโดย..... होशདངພວན2017


บทธรรมนิพนธ์เรื่อง เปิดดวงตา


ภูมิหลังและสาระสำคัญ(ย่อความบางส่วนมา)


บทธรรมนิพนธ์ฉบับนี้ถูกเขียนในเดือนกุมภาพันธ์ ปีที่ 9 แห่งสมัยบุนเออิ ค.ศ. 1272 ที่กระท่อมซัมไมโด ทุ่งสึคาฮาระ บนเกาะซาโดะ เมื่อพระนิชิเร็น ไดโชนินอายุ 51 ปี แม้ว่าบทธรรมนิพนธ์ฉบับนี้เขียนถึงชิโจ คิงโงะ โยริโมโตะแต่แท้ที่จริงแล้ว ธรรมนิพนธ์ฉบับนี้มุ่งไปที่ผู้ติดตามพระนิชิเร็นไดโชนินทุกคนบทธรรมนิพนธ์ฉบับนี้มี 2 ส่วน และพระนิชิเร็น ไดโชนิน ได้ตั้งชื่อบทธรรมนิพนธ์ฉบับนี้ว่าบทธรรมนิพนธ์ [เปิดดวงตา] ในชื่อคือการกล่าวถึง

การเปิดตาบอดของผู้ที่ไม่มีปัญญาเกี่ยวกับศาสนาพุทธแท้ในขณะที่บทธรรมนิพนธ์สิ่ง [สักการะแท้] เปิดเผยสิ่งสักการะในแง่ของธรรมะ บทธรรมนิพนธ์ [เปิดดวงตา]นี้ เปิดเผยสิ่งสักการะในแง่ของบุคคล นี่คือบทธรรมนิพนธ์สำคัญอย่างยิ่งที่ถูกจัดอยู่ใน 5 บทธรรมนิพนธ์สำคัญของพระนิชิเร็น ไดโชนินในส่วนแรกของบทธรรมนิพนธ์ฉบับนี้ พระนิชิเร็นไดโชนินใช้การเปรียบเทียบ 5 ระดับเพื่อเปิดเผยความแตกต่าง ความเหนือกว่ากับความด้อยกว่า และความผิวเผินกับความลึกซึ้งระหว่างคำสอนที่ไม่ใช่ศาสนาพุทธกับคำสอนตลอดพระชนม์ชีพของ [พระศากยมุนีพุทธะ] ในส่วนที่2พระนิชิเร็นไดโชนินเปิดเผยว่าท่านคือ พระพุทธะที่มีคุณธรรม 3 ประการแห่งเจ้านาย อาจารย์และบิดามารดา ข้อความที่

หยิบยกมาซึ่งพวกเราให้ความสนใจในวันนี้อยู่ในตอนท้าย ๆ ของส่วนที่ 2 พระนิชิเร็นไดโชนินนำเสนอการเผยแผ่ 2 วิธี โชจุและชะคุบุขุ ต่อมาท่านสอนพวกเราว่าในสมัยปัจฉิมธรรม เมื่อมีคนมากมายที่มีความเห็นนอกรีตและดูหมิ่นธรรมะ วิธีเหมาะสมเพื่อการเผยแผ่ธรรมะคือชะคุบุขุ การหักล้างความเชื่อนอกรีตและการเปิดเผยความจริงการชะคุบุขุ

ในสมัยปัจฉิมธรรมโชจุและชะคุบุขุ คือ 2 วิธีซึ่งพระพุทธะนำผู้คน โชจุคือวิธีการสอนที่ถึงแม้ว่าผู้คนมีความเชื่อไม่ถูกต้องพระพุทธะจะยอมรับความคิดที่ผิดของพวกเขาเป็นการชั่วคราวและค่อย ๆ แก้ไขพวกเขาและนำพวกเขาไปสู่ธรรมะแท้ ในทางตรงข้าม ชะคุบุขุคือวิธีซึ่งไม่อาจทนต่อความเชื่อนอกรีต พระพุทธะชี้ให้เห็นความคิดที่ผิดทันทีและนำผู้คนไปสู่ศาสนาพุทธแท้ในบทธรรมนิพนธ์ จดหมายจากซาโดะ พระนิชิเร็นไดโชนินอธิบายว่าวิธีที่นำผู้คนไปสู่ศาสนาพุทธจะต่างกันตามกาลเวลาในศาสนาพุทธจะเลือก [โชจุหรือชะคุบุขุ] ขึ้นอยู่กับเวลา





เรื่องราวในพุทธศาสนาที่มีปรากฏอยู่ในอภิธรรมโกษศาสตร์ เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับพราหมณ์ที่มาขอดวงตาในอดีตชาติ พระสารีบุตร ลูกศิษย์ของพระศากยมุนีพุทธะที่มีชื่อเสียงว่าเลิศทางปัญญา กำลังปฏิบัติโพธิสัตว์มรรคของการให้ทาน เมื่อพราหมณ์ปรากฏขึ้นมาและขอดวงตาข้างหนึ่งของเขา พระสารีบุตรตอบสนองโดยควักดวงตาให้แก่พราหมณ์

แทนที่พราหมณ์จะขอบคุณเขา แต่กลับประกาศว่า ดวงตามีกลิ่นเหม็น จึงขว้างทิ้งลงบนพื้นและเหยียบขยี้ พระสารีบุตรตกตะลึง เขาตัดสินใจที่จะไม่ช่วยบุคคลดังกล่าว และเขาก็เลิกการปฏิบัติของโพธิสัตว์ เป็นธรรมดาที่จะรู้สึกว่า ความเพียรพยายามของเรามีค่า และถูกกระตุ้นให้ทำงานหนักขึ้น เมื่อเป็นที่รับรู้และชมเชยของผู้คนรอบตัวเราความรับผิดชอบส่วนหนึ่งของผู้นำ คือ การรับรู้ การกล่าวถึง และให้กำลังใจ ผู้ซึ่งเพียรพยายามอย่างอุทิศตนและกระตือรือร้น

อย่างไรก็ตาม ถ้าเราไม่ได้รับการชมเชยหรือได้รับการปฏิบัติอย่างไม่ถูกต้อง สิ่งสำคัญคือ เราต้องไม่เกิดความไม่พอใจผู้นำหรือสมาชิกคนอื่น หรือสูญเสียความกระตือรือร้น นั่นมีแต่จะลบบุญกุศลและบุญวาสนาของเรา และเป็นเหตุให้เราหยุดการเจริญเติบโต....
ข้อความจาก Sgi Organization