ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: होशདངພວན2017
« เมื่อ: มิถุนายน 14, 2018, 11:51:29 am »








ในอดีตกาลเมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ในกรุงพาราณสีบุรุษผู้หนึ่งชื่อกุททาลบัณฑิตบวชเป็นนักบวชภายนอกอยู่ในป่าหิมวันต์ ๘ เดือนเมื่อภูมิภาคชุ่มชื้นในสมัยที่ฝนตกชุกคิดว่าในเรือนของเรายังมีข้าวฟ่างและลูกเดือยประมาณครึ่งทะนาน และจอบเหี้ยน(อีกอันหนึ่ง)พืชคือข้าวฟ่างและลูกเดือย

อย่าเสียไปจึงสึกเอาจอบเหี้ยนปรับพื้นที่แห่งหนึ่ง หว่านพืชนั้น ทำรั้วไว้ในเวลาที่เมล็ดพืชแก่ก็เหี่ยวเก็บพืชไว้ประมาณทะนานหนึ่งเคี้ยวกินพืชที่เหลือท่านคิดว่าบัดนี้ประโยชน์อะไรด้วยเรือนของเราเราจักบวชอีก ๘ เดือนจึงออกบวชแล้วท่านอาศัยข้าวฟ่างและลูกเดือยเพียงหนึ่งทะนานและจอบเหี้ยน เป็นคฤหัสถ์ ๗ ครั้งบวช ๗ ครั้งโดยทำนองนี้แลแต่ในครั้งที่ ๗ คิดว่า เราอาศัยจอบเหี้ยนอันนี้เป็นคฤหัสถ์แล้วบวชถึง ๗ ครั้งเราจักทิ้งมันในที่ไหน ๆ สักแห่งหนึ่งท่านไปยังฝั่งแม่น้ำคงคา คิดว่าเราเมื่อเห็นที่ตกคงต้องลงงมเอาเราจักทิ้งมันโดยอาการที่เราจะไม่เห็นที่ซึ่งมันตกจึงเอาผ้าเก่าห่อพืชประมาณทะนานหนึ่งแล้วผูกผ้าเก่าที่แผ่นจอบ จับจอบที่ปลายด้ามยืนที่

ฝั่งแห่งแม่น้ำหลับตาแกว่งเวียนเหนือศีรษะ ๓ ครั้งขว้างไปในแม่น้ำคงคาหันไปดูไม่เห็นที่ตกได้เปล่งเสียงว่าเราชนะแล้วเราชนะแล้วชิตํ เม ชิตํ เมดังนี้ ๒ ครั้งในขณะนั้นพระเจ้ากรุงพาราณสีทรงปราบปัจจันตชนบทให้สงบราบคาบแล้วเสด็จมาโปรดให้ตั้งค่ายพักใกล้ฝั่งแม่น้ำเสด็จลงสู่แม่น้ำเพื่อทรงประสงค์จะสรงสนานได้ทรงสดับเสียงนั้นก็ธรรมดาว่าเสียงที่ว่า เราชนะแล้ว เราชนะแล้วย่อมไม่พอพระหฤทัยของพระราชาทั้งหลายพระองค์จึงเสด็จไปยังสำนักของกุททาลบัณฑิตนั้นตรัสถามว่าเราทำการย่ำยีอมิตรมาเดี๋ยวนี้ก็ด้วยคิดว่าเราชนะ

ส่วนเธอร้องว่าเราชนะแล้ว เราชนะแล้วนี้ชื่อเป็นอย่างไร ? กุททาลบัณฑิต จึงทูลว่าพระองค์ทรงชนะพวกโจรภายนอกความชนะที่พระองค์ทรงชนะแล้วย่อมกลับเป็นไม่ชนะอีกได้แท้ส่วนโจรคือความโลภซึ่งมีในภายในอันข้าพระองค์ชนะแล้วโจรคือความโลภนั้นจักไม่กลับชนะข้าพระองค์อีกชนะโจรคือความโลภนั้นอย่างเดียวเป็นดีดังนี้แล้วจึงกล่าวคาถานี้ว่าความชนะใด กลับแพ้ได้ ความชนะนั้น มิใช่ความชนะที่ดี(ส่วน)ความชนะใด ไม่กลับแพ้ความชนะนั้นแล เป็นความชนะที่ดี