ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: กรกฎาคม 19, 2018, 09:50:12 pm »














ในครั้งพุทธกาล ถ้าคฤหัสถ์ไม่รู้ว่าภิกษุคือใคร ภิกษุจะต้องประพฤติตามสิกขาบทที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ คฤหัสถ์นั้นก็ไม่สามารถที่จะเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาเมื่อภิกษุทำสิ่งที่ไม่สมควร แต่ในครั้งพุทธกาลเมื่อมีภิกษุรูปใดกระทำในสิ่งที่ไม่เหมาะควร อุบาสกอุบาสิกาซึ่งเป็น คฤหัสถ์ที่เข้า

ใจ จึงเพ่งโทษคือให้รู้ว่าสิ่งนั้นเป็นโทษ ภิกษุประพฤติในสิ่งที่ผิดไม่ได้ เพราะเหตุว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ว่าเมื่อเป็นภิกษุก็ต้องขัดเกลากิเลสยิ่งกว่าคฤหัสถ์โดยตั้งแต่ตื่นจนหลับ จะต้องสำนึกว่าเรา ไม่ใช่

คฤหัสถ์ เพราะฉะนั้น ผู้ที่ไม่ใช่คฤหัสถ์ คือใคร ? คือ ผู้ที่อุทิศตน เพราะเห็นคุณของการที่ได้ฟังพระธรรมซึ่งสามารถที่จะทำให้ขัดเกลากิเลสตามอัธยาศัยที่ยิ่งกว่า [คฤหัสถ์]เพราะฉะนั้นไม่มีการบังคับ ไม่มีการชักชวนกันให้ใครไป บวช หรือว่าต้องบวชจึงจะได้เข้าใจธรรม ไม่มีเลย เพราะเหตุว่าไม่ว่าจะเป็นภิกษุหรือเป็นคฤหัสถ์ก็สามารถที่จะฟังธรรมและเข้าใจ ธรรมได้