ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: กรกฎาคม 27, 2018, 10:53:53 pm »










ไหน ๆ ก็วันอาสาฬบูชาแล้ว Post

ผู้คนที่สับสนหรือหลงผิดหมายถึงผู้ที่ไม่มีความสัมพันธ์ใด ๆ กับศาสนาพุทธแท้ หรือผู้ที่ไม่สามารถเชื่อและไม่สามารถนับถืออย่างถูกต้อง ถึงแม้ว่าพวกเขาสามารถพบกับศาสนาพุทธนี้แล้วก็ตามกามคุณ 5 แห่ง สี และรูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส และ 3 พิษแห่งความโลภ โกรธ และหลง ผนวกกับ

กิเลส
รูปแบบอื่น ทำหน้าที่อย่างเข้มแข็งในชีวิตของผู้ที่ไม่สามารถเชื่อและไม่สามารถนับถือศาสนาพุทธแท้ดังนั้น คนเช่นนั้นสร้างเหตุ[กรรม]ด้านลบสำหรับพวกเขาเองด้วยคำพูดและการกระทำของพวกเขา จากนั้น เหตุด้านลบมากมายที่พวกเขาสร้างจะปรากฏในชีวิตของพวกเขาเป็นความทุกข์รูปแบบต่าง ๆ บนพื้นฐานกฎของเหตุและผล

นอกจากนี้ เมื่อพวกเขาวนเวียนอยู่ในวัฏจักรชั่ว การเวียนว่ายใน 6 หนทางนี้อย่างไม่หยุดหย่อน ชีวิตแห่งความสับสนและความหลงผิดของ มนุษย์ปุถุชน จะปรากฏ

ในศาสนาพุทธ สภาพความสับสนและความหลงผิดนี้ถูกจำแนกออกเป็น 6 ภูมิซึ่งถูกเรียกว่า 6หนทางรกกึโดในบทธรรมนิพนธ์ สิ่งสักการะแท้ พระนิชิเร็นไดโชนินกล่าวเกี่ยวกับ 6 หนทางดังต่อไปนี้

ความโกรธคือการปรากฏของภูมินรก ความโลภคือการปรากฏของภูมิเปรต ความโง่เขลาคือการปรากฏของภูมิเดรัจฉาน การประจบสอพลอคือการปรากฏของภูมิอสุร ความปิติคือการปรากฏของภูมิเทว และความสงบคือการปรากฏของภูมิมนุษย์ ชินเพ็น หน้า 647

พระนิชิเร็น ไดโชนินอธิบายว่า 6 ภูมิแห่งนรก เปรต เดรัจฉาน อสุร มนุษย์และเทวอยู่ในชีวิตของทุกคน หมายความว่าอารมณ์ต่าง ๆ อาทิ ความปิติ ความโกรธ ความโศกเศร้าและความพอใจ ซึ่งเกิดขึ้นเพื่อตอบสนองเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวัน ในตัวมันเอง คือเหตุแห่งกรรมของ 6 หนทางสภาพความทุกข์และความหลงผิด

นอกจากนี้ ความทุกข์แห่ง 6 หนทางนี้ไม่ได้จำกัดขอบเขตอยู่ในชาติปัจจุบันเท่านั้น แต่มันเกิดซ้ำซากอยู่ในวัฏจักรแห่งการเกิดและความตาย ครั้งแล้วครั้งเล่า ตามหลักการแห่งวัฏจักรการเวียนว่ายตายเกิดไม่สิ้นสุด

ในบทธรรมนิพนธ์ คำถามและคำตอบระหว่างนักปราชญ์กับคนโง่ พระนิชิเร็น ไดโชนิน อธิบายตั้งแต่เวลาที่ไม่มีจุดเริ่มต้น เหล้าสาเกของความหลงผิดแห่งอวิชชาทำให้พวกเราเมา ทำให้พวกเราเกิดใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่าใน 6 หนทางและ 4 รูปแบบของการเกิด ชินเพ็นหน้า 382

ณ ที่นี้พระนิชิเร็น ไดโชนินสอนว่าตั้งแต่อดีตชาติ พวกเราสะสมเหตุแห่งกรรมสำหรับความทุกข์หลายชนิด บนพื้นฐานภูมิชีวิตแห่ง 6 หนทางที่อยู่ในตัวพวกเรา นอกจากนี้ พวกเราจะไปเกิดใหม่ในอนาคตในภูมิใดภูมิหนึ่งของ 6 หนทาง ตามเหตุที่พวกเราสร้าง และพวกเราจะวนเวียนอยู่ในวัฏจักรความทุกข์ เรื่องนี้ถูกบรรยายใน พระสูตรแห่งรากฐานในการสังเกตจิตใจ ชินจิคันเกียว

สิ่งที่มีความรู้สึกเวียนว่ายและเกิดใหม่หลายครั้งใน 6 หนทาง การเวียนว่ายนี้เหมือนล้อ ซึ่งไม่มีจุดเริ่มต้นหรือสิ้นสุดไทโช ไตรปิฎก เล่ม 3 หน้า 297


จงริเริ่มลงมือกระทำในหมู่ประชาชน

อย่างสดใสและร่าเริงราวกับดวงอาทิตย์

เพื่อความสุขของพวกเขา

และในชุมชนท้องถิ่นของเรา

เพื่อสันติภาพและความเจริญรุ่งเรืองของสังคม

จงส่องแสงให้แก่ทุกผู้คนรอบตัวเรา

เพื่อให้พวกเขามีความหวัง และความกล้าหาญ



[See you next time]