ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: होशདངພວན2017
« เมื่อ: ตุลาคม 02, 2018, 02:11:23 pm »






หัวข้อที่ทุกคนต้องอ่าน

ดิฉันมีข้อสงสัยอยากเรียนถามเพื่อจะได้นำไปปรับใช้กับการดำเนินชีวิตควบคู่ไปกับสภาพธรรมะที่มีจริงน่ะค่ะคือดิฉันได้มีโอกาสไปงานบ้านเพื่อนเขาทำบุญขึ้นบ้านใหม่อยู่ ๆ ก็มีพระสงฆ์ที่นิมนต์มาสวดรูปหนี่งมาบอกกับเพื่อนดิฉันว่า [โยม ๆ] ซองเงินสำหรับพระไม่ครบขาด 1 ซองเพื่อนดิฉันเขาก้อกระตือรือร้นนำชองมาให้พระรูปนั้นเเล้วก็ขอโทษพระดิฉันบอกว่าพระสงฆ์ในพระธรรมวินัยไม่รับเเละไม่ยินดีในเงินเเละทอง เพื่อนดิฉันเขาไม่ได้เชื่อเเถมเขายังย้อนว่าถ้าไม่ให้เงินพระเเล้วจะเอาเงินที่ไหนไปสร้างโบสถ์[บูรณะวัด] รวมถึงเมรุเผาศพด้วยคะ เขาถามว่าถ้าไม่มีเมรุจะเผาศพทีไหนเเละถ้าไม่ให้เงินพระ ก็ไม่มีพระที่ไหนมาสวดศพไห้หรอกนะ เลยข้องใจว่าวิธีที่ถูกต้องควรทำอย่างไรเเล้วเวลาที่เราตายหรือญาติเราตายเราจะเอาไปวัดเเล้วถ้าไม่ให้เงินพระเขาจะมาสวดไหม กราบอนุโทนด้วยความเคารพอย่างสูง

การจัดฌาปนกิจ ไม่มีการทำในวัด อาราม ที่เป็นสถานที่สงบ ที่มายินดี ของผู้สงบ สมัยพุทธกาลไม่มีทำกัน เพราะมีการกระทำที่ไม่ตรงตามพระธรรมปัจจุบันและต่อไป ก็มีการจัดงานศพในวัด ไม่เป็นที่มายินดี ในความสงบ ไม่ใช่วัดในพระพุทธศาสนา คฤหัสถ์ โดยมากถวายเงินพระภิกษุและพระภิกษุก็ยินดีในเงินและทองอันเป็นประเพณีที่ผิด 

การแสดงธรรม แสดงโดยไม่ต้องมีการจัดงานศพในวัดก็ได้ในสมัยพุทธกาล เวลาเย็น ชาวบ้านก็มาฟังธรรมโดยไม่มีการเอางานศพเข้ามาเกี่ยวข้องและปัจจุบันก็มีสถานที่ ฌาปนกิจ โดยไม่ต้องยุ่งเกี่ยวกับวัด

ฌาปนสถาน ก็คือ ที่เผาศพในสมัยก่อนก็ใช้เชิงตะกอน นำฟืนมากองรวมกัน แล้วเอาศพวางไว้ข้างบน แล้วก็ทำการเผาสมัยนี้บางพื้นที่ก็ยังมีการกระทำอย่างนั้นบ้างสมัยนี้จะเป็น เมรุ เสียเป็นส่วนใหญ่สถานที่เผาศพไม่ควรอยู่ในวัด จะเห็นได้ว่าในพระวิหารเชตวัน พระวิหารเวฬุวัน ไม่มีที่เผาศพ ก็มีสถานที่ที่เหมาะควรในการเผาแม้ในชาดก อย่างเช่นใน อุรคชาดก ที่พระโพธิสัตว์เผาลูกชายที่ถูกงูกัด ก็เผาในที่นาตรงนั้นเลย การเผาศพควรจะเป็นกิจของคฤหัสถ์

ไม่ใช่กิจของพระภิกษุเพราะเป็นไปกับความไม่สงบ และ ยังมีส่วนที่เกี่ยวกับเงินทองด้วย เป็นเหตุให้ต้องอาบัติ หลายอย่างและที่น่าพิจารณา คือ การทำบุญอุทิศให้ผู้ที่ละจากโลกนี้ไปแล้วไม่ใช่การสวดพระอภิธรรมเพราะไม่ได้เป็นไปกับความเข้าใจอะไรเลย ฟังไม่รู้เรื่องดังนั้น การทำบุญอุทิศให้ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วก็ด้วยความดีทั้งหลายทั้งในเรื่องของการให้ทาน หรือแม้กระทั่งการฟังพระธรรม ก็สามารถอุทิศส่วนกุศลได้ ดังนั้น จึงเป็นเรื่องของผู้ที่เข้าใจธรรม ที่จะตั้งต้นทำในสิ่งที่ถูกต้อง แม้ไม่มีการสวดพระอภิธรรม ก็ทำความดีอย่างอื่น อุทิศส่วนกุศลได้