ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: พฤศจิกายน 25, 2018, 01:03:42 pm »


PX_000000000001601409111 by dimsam dimsam, on Flickr



PFX_00000016019952240000 by dimsam dimsam, on Flickr

IMG_000000000001821069 by dimsam dimsam, on Flickr





http://youtu.be/9EdljWwoFbI




ที่กล่าวว่าเป็นคนสัตว์หรือว่าสิ่งที่มีชีวิตนั้นความจริง ก็คือเป็นรูปธรรม สภาพธรรมที่ไม่รู้อะไร และนามธรรม สภาพรู้ เท่านั้นที่เกิดขึ้นหลากหลาย

ไม่ว่าจะเกิดในกำเนิดใด ในโลกมนุษย์ก็เห็นมนุษย์เยอะ แต่ว่าในขณะเดียวกันก็มีภูมิอื่นอีกภูมิหนึ่ง คือ สัตว์ดิรัจฉานด้วย เพราะฉะนั้น ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือเป็นสัตว์ดิรัจฉานก็ตาม ชื่อว่า สัตวโลก เพราะอรรถว่าเป็นที่ดูบุญและบาป และผลแห่งบุญและบาป



บุญใด อันข้าพเจ้าได้ประกอบแล้วในทวีปนี้ ด้วยเดชะบุญนั้น ขออันตราย คือ ความเห็นผิดในพระรัตนตรัย จงอย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า กรรมอันน่าติเตียนอันใดที่ข้าพเจ้าได้ล่วงเกินแล้ว ต่อพระพุทธเจ้า พระธรรม และ พระสงฆ์ ด้วยกายก็ดีด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ขอพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ได้โปรดอดโทษแก่ข้าพเจ้า เพื่อข้าพเจ้าจะได้สำรวมระวังในพระรัตนตรัย ในกาลต่อไป

ผู้ใดผูกใจเจ็บว่า คนโน้นได้ด่าเรา คนโน้นได้ตีเรา คนโน้นได้ชนะเรา คนโน้นได้ลักของ ๆ เรา ดังนี้ เวรก็ไม่มีทางระงับ




หนึ่งมื้อกินเจ หมื่นชีวิตรอดตาย

หนังสือมี(ศีล) ก่อนจะสายเสียงร่ำไห้ของชีวิตสัตว์จะบรรเทาได้โดยเราลก - ละ - เลิกบริโภคชีวิตเลือดเนื้อผู้อื่นการตายของสัตว์ที่ถูกฆ่ากินเป็นอาหาร เป็นการตายก่อนอายุขัย หมายถึงตายก่อนวัยอันควร เช่นวัวมีอายุเฉลี่ยอยู่ที่ 25 ปี เมื่อถูกฆ่าตายเสียก่อน จิตวิญญาณก็ไม่มีที่ไป ต้องวนเวียนอยูในสภาวะก่อนตายคือ วนเวียนอยู่กับคนที่ฆ่าและคนที่กินตัวเอง โดยเฉพาะหากปลงไม่ได้ที่ต้องกลายมาเป็นอาหารอันโอชะจิตก็จะเกิดเป็นแรงแค้น และส่งกระแสจิตที่คับแค้นมาแทรกกระแสจิตของคนที่เกี่ยวข้องทำให้เกิดเป็นความหม่นหมอง สับสน หดหู่นอนไม่หลับ ร่างกายก็อึดอัดไม่สบาย กลายเป็นที่มาของการสะสมโรคภัย ต่างจากการบริโภคผักหรือสลัดผู้บริโภคจะรู้สึกโปร่ง เบาสบายทั้งกายและใจเพราะไม่มีกระแสจิตมาแทรก เขาก็ชีวิตเราก็ชีวิตทุกชีวิตมีสิทธิ์และมีอิสระในการดำรงชีวิต



PA16011-1 by dimsam dimsam, on Flickr

1-P525011F79 by dimsam dimsam, on Flickr