ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: พฤศจิกายน 21, 2019, 02:58:03 pm »







 

สะพานมีชีวิต เกิดจากรากไม้และเถาวัลย์..เป็นวิธีสร้างสะพานจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวเขาในอินเดีย

India’s Amazing Tree Bridges Are Made of Living Roots and Vines! Root Bridges

หลายๆหมู่บ้านในแถบ Meghalaya ประเทศอินเดีย ได้สร้างสะพานที่มีเทคนิคพิเศษโดยใช้การสร้างสรรค์จากธรรมชาติล้วนๆ หรือจะพูดให้ชัดก็ต้องบอกว่า พวกเขาปลูกสะพานขึ้นมานั่นเอง!
โดยใช้รากของต้น Ficus elastica (หรือ rubber fig tree) ชาวบ้านจะช่วยกันถักสานสะพานที่มีชีวิตนี้ขึ้นจากรากของต้นไม้ ซึ่งเป็นวิธีที่ตกทอดกันมากว่า 500ปี งานชิ้นนี้ เป็นตัวอย่างที่ไม่ธรรมดาจริงๆสำหรับสถาปัตยกรรมที่มีชีวิต และยังเป็นบทเรียนแห่งความอดทน เพราะต้องใช้เวลาในสร้างนานถึง 15 ปี แต่ก็คุ้มค่า เพราะมันอยู่ได้ยาวนาน ยิ่งเวลาผ่านไปนาน มันก็ยิ่งเติบโตแข็งแรงมากขึ้น สะพานบางแห่งมีความยาวมากกว่า 100 ฟุต สามารถรับน้ำหนัก คนบนสะพานได้คราวละมากถึง50คน หรือมากกว่า เลย ทีเดียว

เมือง Cherrapunji ในแถบภูเขา the Khasi Hills. เป็นที่รู้จักกันดีในเรื่องปริมาณฝนตก จนได้รับการบันทึกว่ามีฝนตกชุกที่สุดในโลก มากกว่า 75ฟุตต่อปี และด้วยสภาพอากาศฝนตกชุกแบบนี้เองที่ต้น rubber fig เติบโตได้อย่างดี ต้นไม้ชนิดนี้ จะมีระบบรากชั้น2ที่เติบโตอยู่เหนือพื้นดิน และช่วยให้ต้นไม้เติบโตขึ้นไปตามแนวราก ชาว Khasis ได้เรียนรู้วิธีในการใช้รากของต้น rubber fig สานเป็นสะพานที่มีชีวิต และแข็งแรง เพื่อใช้ในการข้ามแม่น้ำ ลำธาร ตั้งแต่อดีตกาลนานมาแล้ว โดยพวกเขาจะใช้ลำต้นของต้น betul nut เพื่อกำหนดทิศทางรากของต้น rubber fig อีกที รากจะเลื้อยพันไปตามลำต้น และข้ามแม่น้ำ จนไปลงดินในอีกฟากฝั่งของแม่น้ำ ..นี่ละ..พลังอันยิ่งใหญ่ที่มีอยู่ในธรรมชาติ.. และมนุษย์ก็ฉลาดท่ีนำเอามันมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ช่างน่าทึ่งจริงๆ

รูปฟอร์มของสะพานก็สวยงาม ไม่มีซ้ำกัน สมกับธรรมชาติสร้างให้จริงๆ…ขอคารวะทั้งชนเผ่าKhasis และธรรมชาติ ผู้สร้างที่ยิ่งใหญ่!

จาก https://www.iurban.in.th/greenery/root-bridges/