ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 02, 2021, 10:30:11 pm »





ตำรานับร้อยเล่ม

https://sites.google.com/view/pct1994/may-2021/%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%A1

http://youtu.be/Qdv84U0W_lc




ความกตัญญูเป็นเครื่องหมายของคนดี ไม่ว่าใครหากได้พกพาความกตัญญูติดตัวไปด้วยละก็ ย่อมได้ชื่อว่าเป็นคนดีผู้คนจะยกย่องสรรเสริญในสมัยซือฮั่นมีลูกกตัญูคนหนึ่งชื่อ หวังหลาง ครอบครัวของเขายากจนมากในขณะที่พ่อป่วยหนักหมดทางเยียวยาก่อนตายพ่อปรารฎว่า อยากกินแกงปลาสักถ้วยหนึ่ง เวลานั้นเป็นฤดูหนาว อากาศหนาวจัด น้ำในลำธารกายเป็น้ำแข็งหมด ไม่สามารถจับปลาได้ เมื่อไปถึงลำธารหวังหลาง ถอดเสื้อผ้าออกหมด ทอดร่างอันเปลือยเปล่านอนราบลงไปบนธารน้ำแข็ง เพื่อใช้ไออุ่นจากร่างกายของตนละลายน้ำแข็ง ในที่สุดน้ำแข็งก็ละลายจนเป็นโพลง ไม่น่าเชื่อเลยว่าปลาในน้ำจะกระดดดขึ้นฝั่งโดยที่เขาไม่ต้องลงไปจับเลยนับว่า สวรรค์มีตาเห็นแก่

ความกตัญญูของเขาที่ยอมเอาชีวิตเข้าแลก เพื่อให้พ่อได้กินแกงปลาหากคนในปัจจุบันเอาเยี่ยงอย่าง หวังหลาง มีความรัก – ความเคารพและกตัญญูต่อพ่อ – แม่ของตน ความวุ่นวายคงลดน้อยลงมาก กระแสเศรษฐกิจของสังคมโลกยุคปัจจุบันส่งผลต่อศีลธรรมในใจของผู้คนมากเหลือเกิน ปัญหาความแตกแยกภายในครอบครัวทำให้พ่อ – แม่ – ลูกไม่ได้อยู่พร้อมหน้ากัน บางครอบครัวพ่อ – แม่ต้องออกไปทำงานต่างจังหวัดหรือต่างประเทศเพื่อส่งเงินมาให้ลูก แต่ไม่อาจส่งอ้อมกอดมาให้ลูกได้ ทำให้ลูกเข้าใจผิดคิดว่าพ่อแม่ไม่รัก จึงทำตัวเหลวแหลกหากลูกถูกสะกิดความคิดจากผู้มีปัญญาสักนิดว่าพ่อแม่ยอมลำบากเพื่อให้ลูกสบายให้ลูกได้เล่าเรียนเผื่อวันหน้าจะได้เป็นเจาคน นายคน ลูกทุกคนจึงควรแสดงความกตัญญูต่อพ่อแม่ด้วยการประพฤติตัวเป็นประโยชน์ต่อสังคมไม่

เบียดเบียนไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นสิ่งเหล่านี้ย่อมเป็นของขวัญล้ำค่าที่พ่อ – แม่ปรารถณามากกว่าสิ่งใด ๆ ในโลกมาลัยดอกสีขาวบริสุทธิ์ยังไม่หอมชื่นเท่ากับน้ำใจที่แสดงออกถึงความห่วงใยเวลาที่ท่านต้องการกำลังใจเหมือนบทประพันธ์ที่ผู้รู้ถ่ายทอดไว้ว่าพ่อกับแม่มีแต่จะแก่เฒ่า จะเลี้ยงเจ้าเรื่อยไปนั้นอย่าหมายมีวิชาเลี้ยงตนไปจนตายลูกสบายแม่กับพ่อก็พอใจยามแก่เฒ่าหมายเจ้าเฝ้ารับใช้ ยามป่วยไข้หมายเจ้าเฝ้ารักษาถึงคราวดับดิ้นสิ้นชีวา หวังเจ้าช่วยปิดตาคราสิ้นใจเราอาจบอกรักใครได้วันละหลาย ๆ หนแต่มีผู้หญิงคนหนึ่งซึ่งรอฟังคำว่า รัก จากลูกมากว่าครึ่งค่อนชีวิตแต่ไม่เคยได้ยินเลย เพราะลูกอายกลัวคนอื่นจะได้ยิน ไม่กล้าก้มกราบแทบเท้าแม่กลัวคนอื่นจะเห็น คนที่ดีจะไม่อายที่จะบอกรักพ่อแม่แต่อายที่จะทำความชั่วเราเป็นคนดีหรือคนชั่วดูจากความกล้าในเรื่องนี้ก็พอจะรู้แล้ว