ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: होशདངພວན2017
« เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2021, 12:18:29 pm »



:46: :46: :46:

https://7star1971.wordpress.com/

ภาพเหล่านี้ถ่ายเมื่อปี 2011
แต่เมื่อ 10 ปีก่อนยังไม่มี
COVID 19


 :yoyo003: :yoyo003: :yoyo003:

พระพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ.พระวิหารเชตวัน เมืองสาวัตถี ได้ตรัสกะพระภิกษุทั้งหลายถึงเรื่อง ธรรมของคนดี (สัปปุริสธรรม) และ
ธรรมของคนชั่ว(อสัปปุริสธรรม)พอสรุปได้ว่าธรรมะของคนชั่ว คือ..................................
๑.ผู้ออกบวชจากสกุลสูง
๒.ผู้ออกบวชจากสกุลใหญ่
๓.ผู้มีคนรู้จัก มียศ
๔.ผู้มีลาภ
๕.ผู้มีการศึกษามาก
๖.ผู้ทรงจำวินัย
๗.ผู้เป็นนักพูดธรรมะ
๘.ผู้อยู่ป่า
๙.ผู้นุ่งห่มผ้าบังสุกุล
๑๐.ผู้ถือบิณฑบาต
๑๑.ผู้อยู่โคนไม้
๑๒.ผู้อยู่ป่าช้า
๑๓.ผู้ได้รูปฌานที่


๑ ถึงที่ ๔ ๑๔.และผู้ที่ได้อรูปฌานที่ ๑ ถึงที่ ๔ รวม ๒๐ พวก

ใน ๒๐ พวกนี้ที่เป็นคนชั่ว คือ มักจะยกตนข่มขี่ผู้อื่น เพราะเหตุที่ตนอยู่ใน ๒๐ พวกนั้นอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ หลายอย่างก็ได้ จัดว่าเป็นอสัปบุรุษ คือ คนชั่วทั้งสิ้น ส่วนคนดี ย่อมพิจารณาเห็นว่า ความโลภ ความโกรธ และความหลง ย่อมไม่อาจ หมดไปได้เพราะการอยู่หรือได้ฐานะ ๒๐ ประการนั้น ถึงแม้ไม่อยู่ในฐานะทั้ง ๒๐ นั้น แต่เป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ประพฤติตนสมควร คนทั้งหลายก็
ต้องบูชา สรรเสริญในที่นั้น คนดีนั้นเขาปฏิบัติแต่ภายในคือ ไม่โอ้อวด ยกตัว ไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะความเป็นผู้มีฐานะ ๒๐ นั้น นี่คือธรรมของคนดีคำาว่า ธรรม ในหัวเรื่องนี้ เป็นของหรือสิ่งกลาง ๆ ยังไม่จัดว่าดีหรือชั่ว จึงใช้คำว่า ธรรม ของคนดีและของคนชั่ว ต่อมาเราได้ดูที่การกระทำ หรือฟังคำที่เขาพูดแล้วจึงจะตัดสินใจได้ว่า สิ่งนั้นดีหรือชั่ว ในพระสูตรนี้ ท่านยกเอาผู้ที่อยู่ หรือได้คุณธรรมนั้น ๆ ใน ๒๐ ประเภทมาเป็นตัวอย่างว่า แม้ผู้ที่ถึงฐานะ ๒๐ พวกนั้นแล้ว ก็มิได้เป็นประกันว่า จะเป็นคนดีหรือคนชั่วเสมอไป จะต้องมีการละความ โลภ ความโกรธ และความหลงประกอบด้วย พระสูตรนี้ น่าจะเป็นตัวอย่างที่ดี ให้ชาวพุทธที่มีสัทธาจริต เห็นพระอยู่ป่า อยู่เขา อยู่ป่าช้า นุ่ง ห่มผ้าสีกรัก ทำสมาธิได้ถึงขั้นฌานต่าง ๆ ว่าเป็นผู้ที่หมดกิเลสตัณหาแล้ว บางทีท่านอาจมีกิเลสตัณหามากกว่า พระที่อยู่ในกรุงบางรูปเสียด้วยซำ


 :46: :46: :46:



http://youtu.be/jPELNDUuIvg