ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: ธันวาคม 26, 2023, 05:40:28 pm »



วิกรมจริต

เป็นยอดวรรณคดีเอกของสันกฤตที่มีผู้นิยมอ่านมากที่สุดไม่แพ้นิทานเวตาล เป็นต้นสกุล นิทานสิบสองเหลี่ยม หรือ นิทานอิหร่านราชธรรม
ที่ปราชญ์ไทยแปลไว้ตั้งแต่ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา เนื้อเรื่องกล่าวสดุดีพระเจ้าวิกรมาทิตย์ ราชาแห่งกรุงอุชชยินี กษัตริย์ราชวงศ์คุปตะ
ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๕ ต่อกับศตวรรษที่ ๖ มุ่งให้คติธรรม ความกล้าหาญ ความเสียสละ และความสุขในการดำเนินชีวิต

นิยายสันสกฤต ประเภทรวบรวมนิทานสดุดีพระราชาผู้ทรงคุณธรรม คือ พระเจ้าวิกรมาทิตย์ แห่งกรุงอุชชยินี พระเจ้าวิกรมาทิตย์เป็นกษัตริย์ราชวงศ์คุปตะ ในช่วงคริสตศตรรษที่ 5 ต่อกับศริสตศวรรษที่ 6 กับการรวบรวมนิยายต่างๆ เกี่ยวกับชีวิตของพระองศ์



เรื่องวิกรมจริต (เรื่องราวของพระเจ้าวิกรม) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สิงหาสนทวาตริงศติกา (เรื่องของพระแท่นที่ประกอบด้วยตุ๊กตาสามสิบสองตัว) แปลและเรียบเรียงเป็นพากย์ไทย พิมพ์รวมเล่มสืบจากนิยายสันสกฤต 100 เรื่อง (ภารตนิยาย) วิกรมจริตเป็นงานประเภทรวบรวมนิทานสดุดีพระราชาผู้ทรงคุณธรรม คือ พระเจ้าวิกรมาทิตย์ แห่งกรุงอุชชยินี พระเจ้าวิกรมาทิตย์เป็นกษัตริย์ราชวงศ์คุปตะ ในช่วงคริสตศตรรษที่ 5 ต่อกับศริสตศวรรษที่ 6 การรวบรวมนิยายต่างๆ เกี่ยวกับชีวิตของพระองค์คงจะเกิดจากการดัดแปลงมาจากเรื่องราวอันเป็นคติธรรมในศาสนาไชน์ ความเก่าแก่ของนิยายวิกรมาทิตย์นี้คงจะมีก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 11 และได้รับความนิยมแพร่หลายไปทั่วประเทศอินเดีย การที่ข้าพเจ้าได้นำเสนอเรื่องวิกรมจริตในพากย์ไทยดังนี้ ก็เพราะคำนึงถึงเหตุ 2 ประการคือ เรื่องวิกรมจริตนี้เป็นวรรณคดีเอกของสันสกฤตเล่มหนึ่ง ซึ่งมีผู้อ่านนิยมอ่านมากที่สุด ไม่แพ้ นิทานเวตาล หิโตปเทศ ทศกุมารจริต และอื่น ๆ ควรจะนำมาเผยแพร่ในวงวรรณกรรมไทยให้เป็นที่ประจักษ์ นี้เป็นประการหนึ่ง อีกประการหนึ่งก็คือ ต้องการจะชี้ให้เห็นคุณธรรมของมหาบุรุษตัวอย่าง ผู้มีความกล้าหาญเป็นเลิศ มีความเสียสละอย่างยอดยิ่ง และเป็นผู้มีเมตตาธรรมอันสูงสุด ข้าพเจ้าจึงเห็นสมควรจะนำเสนอต่อผู้อื่น เพื่อเป็นประโยชน์ทั้งในด้านเนื้อหาและคติธรรมอันดีงามในชีวิตสืบไป..."

ตัวอย่าง หนังสือเสียงบางบท

<a href="https://www.youtube.com/v//9l71Q1zGVmI" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//9l71Q1zGVmI</a>

https://youtu.be/9l71Q1zGVmI?si=8l9pcEwQTsZGhq40

<a href="https://www.youtube.com/v//ACDcPRV0svc" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//ACDcPRV0svc</a>

https://youtu.be/ACDcPRV0svc?si=uON2-vbfkX1G_ipk

<a href="https://www.youtube.com/v//FEh7bMLhYL4" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//FEh7bMLhYL4</a>

https://youtu.be/FEh7bMLhYL4?si=9JTwmWgfUvMNLezJ

<a href="https://www.youtube.com/v//PHcLNrKOu_0" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//PHcLNrKOu_0</a>

https://youtu.be/PHcLNrKOu_0?si=CIgFM60lDR71KiwK

Playlist ฟังจนจบเล่ม https://youtube.com/playlist?list=PLFdy70zLYvEHAv3vzehUM06VDvYMrIw5T&si=HEPndHNCVKR9WAnY