ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: มกราคม 01, 2024, 01:48:32 am »


Development of a Symbol -  Elephant symbolising Action

<a href="https://www.youtube.com/v//vHzoiOzbLbc" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//vHzoiOzbLbc</a>

https://youtu.be/vHzoiOzbLbc?si=gPS-t2axPbjuIGkO

สมถกัมมัฏฐานแบบทิเบต

สมถกัมมัฏฐานเป็นวิธีการฝึกอบรมจิตเพื่อให้เกิดความสงบเป็นสมาธิ ซึ่งมีหลายรูปแบบ เช่น อานาปานสติ อสุภกัมมัฏฐาน และกสิ เป็นต้น

ภาพแสดงให้เห็นถึงขั้นตอนการฝึกปฏิบัติตั้งแต่ชั้นแรกจนบรรลุสำ เร็จถึงสมาธิชั้นสูงสุด

เริ่มด้วยการกล่าวถึงสุตพละคือกำลังแห่งการฟัง หมายถึงการได้รับฟังคำอธิบายจากผู้รู้ถึงสมถกัมมัฏฐานแล้วจึงฝึกปฏิบัติ

พระโยคาวจรคือผู้ฝึกปฏิบัติถือ
เชือกและปฏักหมายถึงสติและสัมปชัญญะคอยกำกับจิต

ช้างคือจิต สีดำ ของช้าง หมายถึงความง่วงเหงาซึมเซาของจิต

ลิงดำ หมายถึงกามคุณ ๕ ที่คอยชักพาจิตให้ ฟุ้งซ่าน

เปลวเพลิงกองใหญ่หมายถึงในระยะแรกของการฝึกปฏิบัตินั้นต้องใช้กำลัง แห่งสติสัมปชัญญะอย่างยิ่งจึงจะมีความก้าวหน้า

ภาพพระโยคาวจรที่ใช้เชือกคือสติผูกช้างได้แล้ว ลิงและช้างเริ่มตัวสีขาว มากขึ้นมีกระต่ายหันหน้าไปหาพระโยคาวจร หมายถึงจิตที่มีความฟุ้งซ่านและ ง่วงเหงาซึมเซาน้อยลง

และเมื่อจิตสงบยิ่งขึ้นความรู้สึกนึกคิดจากกามคุณ ๕ ได้แก่
รส สัมผัส เสียง กลิ่น และรูป จะค่อยๆ จางคลายและดับไปในที่สุด ภาพแสดง ด้วยผลไม้ ๓ ผล จีวร ฉิ่งหนึ่งคู่ หอยสังข์ และกระจกเงา ตามลำดับ

ภาพลิงขาวเกาะบนต้นไม้หมายถึงจิตที่มีกุศล ซึ่งกุศลกรรมทั้งหลายที่จิตไปคิดถึงยังถือว่าอาจทำ ให้ฟุ้งซ่านได้

ในขั้นนี้ต้องขจัดให้หมดไปโดยใช้กำลังแห่ง สติสัมปชัญญะหน่วงจิตให้กลับมา แสดงด้วยภาพพระโยคาวจรใช้เชือกและปฏัก จูงช้าง

ลิง และกระต่ายที่ขาวครึ่งตัว เมื่อจิตมีความสงบเพิ่มขึ้นความฟุ้งซ่านดับลง

ภาพกระต่ายหายไป กามคุณ ๕ ดับลงจนสิ้นภาพลิงหายไป และพระโยคาวจร สามารถควบคุมช้างขาวทั้งตัวให้หมอบอยู่ข้างๆ ได้ คือความง่วงซึมเซาหายไปสิ้น

เปรียบเหมือนจิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียวคืออารมณ์แห่งกัมมัฏฐานนั้นๆ ปรากฏ รุ้งหลากสีทอดออกจากอกพระโยคาวจร

สุดท้ายพระโยคาวจรลอยลิ่วไปหมายถึงปีติแห่งกาย

และนั่งบนหลัง ช้างได้หมายถึงบรรลุถึงสมาธิอันแท้จริงมีปีติแห่งจิต

เปลวเพลิงสีขาวหมายถึง
สติสัมปชัญญะนั้นแนบแน่นสนิทกับดวงจิตแล้ว กำลังขอ สติสัมปชัญญะอัน คล่องแคล่วว่องไวของพระโยคาวจรจะช่วยให้จิตเข้าถึงกำลังแห่งวิปัสสนา เพื่อให้
ได้มาซึ่งความหมายอันสูงสุดแห่งสุญญตาอันเป็นปรมัตถสัจจะของปรากฏการณ์ ทั้งหลาย