ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: มกราคม 01, 2024, 07:02:42 pm »

ตำนานเมืองเหนือ จาก หนังสือชินกาลมาลีปกรณ์



<a href="https://www.youtube.com/v//FPUo5lOt3Zw" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//FPUo5lOt3Zw</a>

https://youtu.be/FPUo5lOt3Zw?si=mGD4DPQuEqN__xsU

<a href="https://www.youtube.com/v//kHjoFMAYOF8" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//kHjoFMAYOF8</a>

https://youtu.be/kHjoFMAYOF8?si=kH8uT7IN_jFTsBJl


<a href="https://www.youtube.com/v//AMM-1EhU_D0" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//AMM-1EhU_D0</a>

https://youtu.be/AMM-1EhU_D0?si=fir35bnwUEJbHMgU

<a href="https://www.youtube.com/v//wYkicL2Jrlc" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//wYkicL2Jrlc</a>

https://youtu.be/wYkicL2Jrlc?si=HKUnVcjojYRz9SGI


<a href="https://www.youtube.com/v//5xHts-zB7tY" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//5xHts-zB7tY</a>

https://youtu.be/5xHts-zB7tY?si=fG6VkP1os8D1tcww

<a href="https://www.youtube.com/v//rXGBh7cEFDY" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//rXGBh7cEFDY</a>

https://youtu.be/rXGBh7cEFDY?si=mD_0xnca4EGh9TgD

<a href="https://www.youtube.com/v//PLNAzObBxq8" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//PLNAzObBxq8</a>

https://youtu.be/PLNAzObBxq8?si=4rna7pPHoC5dheU8

เขาคงจะลง เรื่อย ๆ ตามไปเลย https://m.youtube.com/@AmataPum/videos

เพิ่มเติม



ชินกาลมาลีปกรณ์ เป็นวรรณกรรมพุทธศาสนาภาษาบาลี ผู้แต่งคือพระรัตนปัญญาเถระ พระสังฆราชาในรัชสมัยของพระเมืองแก้วหรือพระติลกปนัดดาธิราชแห่งอาณาจักรล้านนา มีเนื้อหาเป็นพงศาวดารหรือประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา เนื้อหากว่าครึ่งเล่มเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าองค์ต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่พระโคตมพุทธเจ้ายังทรงเป็นพระโพธิสัตว์จนถึงปัจจุบันชาติ เรื่องอัครสาวกนิพพาน พุทธปรินิพพาน พระบรมสารีริกธาตุ จนการสังคายนาในชมพูทวีปและในศรีลังกา ทั้งยังพูดถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย เชียงใหม่ ความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาในอาณาจักรล้านนา[1] สิ้นสุดเรื่องที่ประวัติราชวงศ์มังรายในสมัยของผู้แต่ง คือ สมัยพระเมืองแก้ว โดยมีบันทึกลงปีที่รจนาจบตรงกับปี พ.ศ. 2060 แต่มีการแต่งเพิ่มเติมต่อจนจบบริบูรณ์ในปี พ.ศ. 2071[2] เรียบเรียงเป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง เรียกว่า "ปัชชพันธ์" มีการเรียบเรียงภาษาได้อย่างงดงาม มีการแปลงชื่อเฉพาะในสมัยนั้นเป็นภาษาบาลี เช่น ชื่อเมือง กษัตริย์ บุคคล สถานที่ และแม่น้ำ[3]

จาก วิกิพีเดีย