ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: มกราคม 01, 2024, 07:36:38 pm »

ชาติพันธุ์ของพระพุทธเจ้า ตามเค้าความคิดของท่านอาจารย์สวนโมกข์ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๓๖ โดย เขมานันทะ



ชาติพันธุ์ของพระพุทธเจ้า ตามเค้าความคิดของท่านอาจารย์สวนโมกข์ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๓๖ โดย เขมานันทะ

อ.โกวิท เอนกชัยนำเสวนาธรรมเรื่อง "ชาติพันธุ์ของพระพุทธเจ้า" ที่ธรรมสถาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๓๖

กราบขอบพระคุณอ.โกวิท เอนกชัย (เขมานันทะ) ที่กรุณาอนุญาตให้อ.ยงยุทธ โรจนวรเกียรติและผม(นพ) นำสำเนาเทปสนทนาธรรมมาแปลงระบบเสียงและจัดทำเป็นซีดี "ทัศนะสู่ธรรม" ออกเผยแพร่สู่กันฟัง นะครับ


<a href="https://www.youtube.com/v//Vh68YtP-P-U" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//Vh68YtP-P-U</a>

https://youtu.be/Vh68YtP-P-U?si=TR2e1zkkYXgYRNF0

เพิ่มเติม



ชาติพันธุ์พระพุทธเจ้า

เปิดตะกุบกำปั่นแห่งปัญญา ตามเค้าความคิดท่านอาจารย์สวนโมกข์ โดย เขมานันทะ ซึ่งได้บอกเล่าถึงสิ่งที่ไปพ้นสมมติบัญญัติทางถ้อยคำ ภาษา ให้ประจักษ์ต่อสถานะของความจริงตรงๆ ล้วนๆ ด้วยถ้อยคำ ภาษา อันชาญฉลาด จากการบรรยายรวมสามครั้ง โดยมีเรื่องราวของ ท่านอาจารย์พุทธทาสภิกขุ เป็นหลักสามเรื่อง คือ ท่านอาจารย์สวนโมกข์ที่ข้าพเจ้ารู้จัก, ท่านอาจารย์สวนโมกข์กับสุนทรียภาพ และชาติพันธุ์พระพุทธเจ้าตามเค้าความคิดท่านอาจารย์สวนโมกข์

คำบรรยาย หรือเรื่องเล่าในเล่มนี้ นอกจากจะทำให้เราได้ประจักษ์ถึงที่มาที่ไปและเนื้อหาโดยตรงของพุทธธรรม หรือพุทธะ ที่พระพุทธองค์ทรงประจักษ์แล้ว ยังได้ประจักษ์ถึงความเคารพผูกพันที่เขมานันทะมีต่อ อาจารย์สวนโมกข์ เพียงใดด้วย จะเป็นอย่างไร ต้องไปติดตามกันในเล่มเลยค่ะ

จาก https://www.naiin.com/product/detail/5102