ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: มกราคม 04, 2024, 11:22:05 pm »

คู่มือการปฏิบัติอานาปานสติอย่างสมบูรณ์



อานาปานสติ การเจริญภาวนาที่ดับทุกข์ได้ด้วยลมหายใจ

พระธรรมโกศาจารย์ (หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ) แห่งสวนโมกขพลาราม ที่ท่านได้บันทึกไว้นั้น เป็นบันทึกการจักนำไปปฏิบัติสมาธิในแต่ละวันได้อย่างสะดวก อันจะเป็นประโยชน์นานัปการ หลวงพ่อพุทธทาสได้บันทึกไว้ว่า "ขอให้ฆราวสทั่วไปได้มีโอกาสทำสมาธิชนิดที่อาจทำประโยชน์ทั้งทางกายและทางใจ สมความต้องการในขั้นต้นเสียขั้นหนึ่งก่อน เพื่อจะได้เป็นผู้ชื่อว่ามีศีล สมาธิ ปัญญา ครบสามประการ

ด้วยการเล็งเห็นความสำคัญถึงประโยชน์และอานุภาพแห่งสมาธิ ธรรมสภาจึงได้จัดพิมพ์หนังสือเรื่อง "อานาปานสติภาวนา การเจริญภาวนาที่ดับทุกข์ได้ด้วยลมหายใน" นี้ขึ้น เพื่อความสงบสุขของส่วนรวม เพื่อประโยชน์ต่อสังคมและมวลมนุษยชาติ

ธรรมสภา

สารบัญ : อานาปานสติ การเจริญภาวนาที่ดับทุกข์ได้ด้วยลมหายใจ

หมวดที่ ๑ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน

ทบทวนหมวดที่ ๑ อีกครั้งหนึ่ง

หมวดที่ ๒ เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน

หมวดที่ ๓ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน

หมวดที่ ๔ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน

วิธีปฏิบัติอย่างสั้น

อานาปานสติแบบนอกพุทธศาสนา

อานาปานสติแบบผสม

สรุปความ


เนื้อหาปกหลัง : อานาปานสติ การเจริญภาวนาที่ดับทุกข์ได้ด้วยลมหายใจ

ความมุ่งหมายของอานาปานสตินี้ มันผิดกันกับกัมมัฏฐานอื่น คือต้องการจะให้มีการปฏิบัติครบหมดอยู่ในเรื่องที่เกี่ยวกับลมหายใจอย่างนี้ ไม่ต้องโยกย้ายไปที่ไหน และไม่ต้องเปลี่ยนเรื่องราวอะไร เราปฏิบัติอยู่แต่กับลมหายใจ ตั้งแต่ต้นจนปลาย คือ จนบรรลุ มรรค ผล นิพพาน ก็เป็นกัมมัฏฐานที่สะดวก เราไม่ต้องหอบหิ้วอะไรไปที่ไหน ไปนั่งตรงไหนมันก็มีลมหายใจที่นั่น ไม่ต้องอาศัยของข้างนอก เช่น

ไม่ต้องอาศัยวงกสิณ ไม่ต้องอาศัยซากศพ ไม่ต้องอาศัยของใดๆ มาช่วย อาศัยลมหายใจมันอยู่ในตัว ไปที่ไหนก็ทำได้ มันก็สะดวก แล้วอีกอย่างหนึ่งมันก็เป็นเรื่องละเอียด ประณีต สุขุม ไม่น่ากลัว ไม่ตื่นเต้น ไม่โกลาหลวุ่ยวาย ไม่เหมือนกับเรื่องอสุภะ หรืออะไรทำนองนั้น มันก็เลยไม่มีอันตราย ไม่มีช่องทางที่จิตจะเป็นอันตราย มันมีอยู่ก็แต่ว่าทำไมไม่ได้ ถ้าทำไม่ได้ ก็ไม่ได้ ที่เป็นอันตรายนั้นไม่มี อย่างจะเป็นบ้าเป็นอะไรไปไม่มี



<a href="https://www.youtube.com/v//TeUNKWxF3ss" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//TeUNKWxF3ss</a> 

https://youtu.be/TeUNKWxF3ss?si=yqiFQB82qAN8yVt5

Link นี้ มีอีกจนจบ https://youtube.com/playlist?list=PLP9gPUcPPs6WaqJ-xeHNVnvRGDvg4RzOm&si=dL3zJmjXJuVt0v3U




ประวัติโดยย่อ

พระธรรมโกศาจารย์ นามเดิม เงื่อม พานิช ฉายา อินทปญฺโญ หรือรู้จักในนาม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออายุได้ 20 ปี ที่วัดบ้านเกิด จากนั้นได้เข้ามาศึกษาพระธรรมวินัยต่อที่กรุงเทพมหานคร จนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค แต่แล้วท่านพุทธทาสภิกขุก็พบว่าสังคมพระพุทธศาสนาแบบที่เป็นอยู่ในขณะนั้นแปดเปื้อนเบือนบิดไปมาก และไม่อาจทำให้เข้าถึงหัวใจของศาสนาพุทธได้เลย ท่านจึงตัดสินใจหันหลังกลับมาปฏิบัติธรรมที่อำเภอไชยา ซึ่งเป็นภูมิลำเนาเดิมของท่านอีกครั้ง พร้อมปวารณาตนเองเป็น พุทธทาส เนื่องจากต้องการถวายตัวรับใช้พระพุทธศาสนาให้ถึงที่สุด



ผลงานเด่นของท่านพุทธทาสคืองานหนังสือ อาทิ หนังสือพุทธธรรม, ตามรอยพระอรหันต์ และคู่มือมนุษย์ และเป็นสงฆ์ไทยรูปแรกที่บุกเบิกการใช้โสตทัศนูปกรณ์สมัยใหม่สำหรับการเผยแพร่ธรรมะ