ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: มกราคม 06, 2024, 02:38:44 pm »

จากสวนโมกข์ไชยา สู่สวนโมกข์นานาชาติ | พื้นที่ชีวิต

ในปีพุทธศักราช 2513 “คริสโตเฟอร์ ทิตมุส” อดีตนักข่าวชาวอังกฤษ วัย 26 ปี ผู้สนใจพุทธศาสนา ได้ตัดสินใจบวชเป็นพระสงฆ์ในไทย และเดินทางมาศึกษาธรรมจาก “ท่านพุทธทาส” ที่สวนโมกข์ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี

หลังลาสิกขา เขาหันหลังให้กับอาชีพนักข่าว เริ่มต้นงานสอนธรรมะในสังคมตะวันตก ตั้งแต่ปี 2520 เป็นต้นมา และเขียนหนังสือเกี่ยวกับคำสอนทางพุทธศาสนา มากกว่า 20 เล่ม

 ปี 2531 “ท่านพุทธทาส” ได้เริ่มก่อตั้งสวนโมกข์นานาชาติ เพื่อสอนอานาปานสติหลักสูตรภาษาอังกฤษให้กับชาวต่างชาติ แม้จะเป็นเพียงคอร์สระยะสั้น 10 วัน แต่หลายคนก็ได้รับประโยชน์ และเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พุทธศาสนาในสังคมตะวันตกจนถึงปัจจุบัน

ติดตาม “กรรณ สวัสดิวัตน์ ณ อยุธยา” พูดคุยกับ “คริสโตเฟอร์ ทิตมุส” อาจารย์สอนธรรมะชาวอังกฤษ ถึงเรื่องราวเมื่อครั้งที่เขาบวชเป็นพระสงฆ์ในเมืองไทย และช่วงเวลาที่ได้พบกับ “ท่านพุทธทาส” ที่สวนโมกข์ไชยา รวมถึงเหตุผลที่ “ท่านพุทธทาส” ก่อตั้ง “สวนโมกข์นานาชาติ” เมื่อ 30 กว่าปีที่ผ่านมา

ร่วมสำรวจคุณค่าร่วมสมัย ในคำสอนทางจิตวิญญาณ ติดตามชมได้ในรายการ พื้นที่ชีวิต ชุด ประทีปธรรมแห่งยุคสมัย ตอน จากสวนโมกข์ไชยา สู่สวนโมกข์นานาชาติ

<a href="https://www.youtube.com/v//064l6PeZr2Y" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//064l6PeZr2Y</a> 

https://youtu.be/064l6PeZr2Y?si=hIvVytfIX24egCsL