ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: มกราคม 06, 2024, 02:43:18 pm »

วิทยาลัยโพธิ : ห้องเรียนพุทธนอกวัด | พื้นที่ชีวิต

“วิทยาลัยโพธิ” เป็นสถาบันสอนพุทธศาสนา ซึ่งใช้ห้องเรียนตามศูนย์ปฏิบัติธรรมที่มีอยู่ทั่วยุโรป รวมถึงสอนผ่านออนไลน์ เน้นเรียนรู้คำสอนดั้งเดิมของพระพุทธเจ้า แต่ให้สามารถนำไปปรับใช้ได้ในโลกปัจจุบัน ไม่เน้นพิธีกรรม หรือจารีตแบบพุทธในเอเชีย อาจารย์ผู้สอนส่วนใหญ่เคยผ่านการบวชเป็นพระสงฆ์ หรือแม่ชีในพุทธศาสนา หลักสูตรมีทั้งสอนความรู้เกี่ยวกับหลักธรรมทั่วไป ไปจนถึงหลักสูตรผลิตอาจารย์เพื่อออกไปสอนพุทธศาสนา

ติดตาม “กรรณ สวัสดิวัตน์ ณ อยุธยา” เดินทางไปยังลอนดอน สหราชอาณาจักร พูดคุยกับ “จอห์น พีคอค” หนึ่งในผู้ก่อตั้งวิทยาลัยโพธิ และนักศึกษาของวิทยาลัย เพื่อค้นหาคำตอบว่า หลักธรรมของชาวพุทธที่มีมากว่า 2,500 ปี ได้ตอบโจทย์เรื่องใดในสังคมตะวันตก การสอนพุทธศาสนาให้กับชาวตะวันตกที่วัฒนธรรมต่างจากชาวเอเชีย มีวิธีการอย่างไร ?
ร่วมสำรวจคุณค่าร่วมสมัย ในคำสอนทางจิตวิญญาณ ติดตามชมได้ในรายการ #พื้นที่ชีวิต ชุด ประทีปธรรมแห่งยุคสมัย ตอน วิทยาลัยโพธิ : ห้องเรียนพุทธนอกวัด

<a href="https://www.youtube.com/v//DIdxYAWopYU" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v//DIdxYAWopYU</a> 

https://youtu.be/DIdxYAWopYU?si=2i8C4FCAsKkL9sMb