ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: กระตุกหางแมว
« เมื่อ: สิงหาคม 09, 2010, 01:12:38 am »

อ่านแล้วมันเหมือนจะง่าย แต่ลองแล้วเหงื่อตกเลยครับ
สร้างโปรแกรมเนี่ย..เคยเรียนมาเทอมนึง..ผมถอยเลยครับ
เหอๆๆ...อยากจะบอกว่าอ่านไปงงไป

ถ้าเป็นโปรแกรมเมอร์ไม่ได้ ขอเป็นแค่แฟนโปรแกรมเมอร์จะได้มั้ยคะ
 :12:

หายแล้ว..มาแรงเลยนะครับพี่บัว.. :06: :17:
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: สิงหาคม 09, 2010, 01:01:25 am »

 :12: สงสัยน้องชาร์ปจะมีแฟนคลับแล้ว ขอบคุณครับน้องชาร์ป ประโยชน์มากครับ
ข้อความโดย: ดอกโศก
« เมื่อ: สิงหาคม 08, 2010, 10:22:45 pm »

เหอๆๆ...อยากจะบอกว่าอ่านไปงงไป

ถ้าเป็นโปรแกรมเมอร์ไม่ได้ ขอเป็นแค่แฟนโปรแกรมเมอร์จะได้มั้ยคะ
 :12:
ข้อความโดย: โลกส่วนตัว
« เมื่อ: สิงหาคม 08, 2010, 08:51:13 pm »

หลักการเขียนโปรแกรม 50 ข้อ



1. โปรแกรมแบบพอเพียง(ทำอะไรให้เล็กที่สุดเท่าที่เป็น ไปได้)



2. ทำสิ่งธรรมดาให้ง่าย ทำสิ่งยากให้เป็นไปได้



3. จงโปรแกรมโดยนึกว่าจะมีคนมาทำต่ออย่างแน่นอน



4. ระเบียบ กฏข้อบังคับ เชื่อมั่นไม่ได้แล้วถ้ามีเพียงหนึ่งโมดูลไม่ปฏิบัติตาม



5. ตัดสินใจให้ดีระหว่างความชัดเจน(clearance) กับ การขยายได้(extensibility)



6. อย่าเชื่อมั่น output จากโมดูลอื่น ถึงแม้เราจะเป็นคนเขียนเอง



7. ถ้าคนเขียนยังเข้าใจได้ยาก แล้วคนอ่านจะเข้าใจได้ยากกว่าแค่ไหน



8. ค้นหาข้อมูลสามวันแล้วทำหนึ่งวัน หรือจะทำสามวันแล้วแก้บั๊กตลอดไป



9. จงสร้างเครื่องมือ ก่อนทำงาน



10. อย่าโทษโมดูลอื่นก่อน โดยเฉพาะถ้าโมดูลอื่นเป็น OS แล Compiler



11. พยายามทำตามกฏ แต่ถ้ามีข้อยกเว้น ต้องมีอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

แล้วประกาศและตะโกนให้ดังที่สุด



12. High cohesion Loose coupling. (ยึดเกาะให้สูงสุดในโมดูล และ

เกาะเกี่ยวกับโมดูลอื่นให้น้อยที่สุด)



13. ให้สิ่งที่เกี่ยวข้องกันยิ่งมากอยู่ไกล้กันมากที่ สุด



14. อย่าเชื่อโดยไม่พิสูจน์



15. อย่าลองทำแล้วคอมไพล์ดู ถ้าเราไม่ได้คาดหวังผลลัพธ์อะไรไว้

(อย่างเช่นปัญหา index off by one)



16. จงกระจายความรู้เพราะนั่นคือการทำ Unit Test

ระดับล่างสุด(ระดับความคิด)



17. อย่าเอาทุกอย่างใส่ใน UI เพราะ UI คือส่วนที่ Unit Test ได้ยาก



18. ทั้งโปรเจ็คต์ควรไปในทางเดียวกันมากที่สุด( Consistency )



19. ถ้ามีสิ่งที่ดีอยู่แล้วจงใช้มัน อย่าเขียนเอง

ถ้าจำเป็นต้องเขียนเอง ให้ศึกษาจากข้อผิดพลาดในอดีตก่อน



20. อย่ามั่นใจเอาโค้ดไปใช้จนกว่าจะ test อย่างเพียงพอ



21. เอาโค้ดที่ test ไว้ที่เดียวกันกับโค้ดที่ถูก test เสมอ



22. ทุกครั้งที่แก้ไขโค้ดให้ run unit test ทุกครั้ง



23. จงใช้ Unit Test แต่อย่าเชื่อมั่นทุกอย่างใน Unit Test เพราะ

Unit Test ก็ผิดได้



24. ถ้าต้องทำอะไรที่ซ้ำกันมากกว่าหนึ่งครั้ง

ก็เพียงพอแล้วที่จะแยกโค้ดส่วนนั้นออก



25. ทำให้ใช้งานได้ก่อน แล้วค่อย optimize และถ้าไม่จำเป็น

อย่าoptimize



26. ยิ่งประสิทธิภาพเพิ่ม ความเข้าใจง่ายจะลดลง



27. ใช้ Design Pattern ที่เป็นที่รู้จักจะได้คุยกับใครได้รู้เรื่อง



28. อย่าเก็บไว้ทำทีหลัง ถ้ายังไงก็ต้องทำ



29. MutiThreading ไม่ใช่แค่การเพิ่มประสิทธิภาพ แต่มันมาพร้อมกับ

Concerency, Deadlock, IsolationLevel, Hard to debug,

Undeterministic Errors.



30. จงทำอย่างโจ่งแจ้ง



31. อย่าเพิ่ม technology โดยไม่จำเป็น

เพราะนั่นทำให้โปรแกรมเมอร์ต้องวุ่นวายมากขึ้น



32. จงทำโปรเจ็คต์ โดยคิดว่าความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้เสมอ



33. อย่าย่อชื่อตัวแปรถ้าไม่จำเป็น เดี๋ยวนี้ IDE

มันช่วยขึ้นเยอะแล้วไม่ต้องพิมพ์เองแค่

dot มันก็ขึ้นมาให้เลือก



34. อย่าใช้ i, j , k , result, index , name, param

เป็นชื่อตัวแปร



35. ทำโค้ดที่ต้องสื่อสารผ่านเครือข่ายให้คุยกันน้อยท ี่สุด



36. แบ่งแยกดีดี ระหว่าง Exception message ในแต่ละเลเยอร์

ว่าต้องการบอกผู้ใช้ หรือ บอกโปรแกรมเมอร์



37. ที่ระดับ UI ต้องมี catch all exception เสมอเพื่อกรอง

Exception ที่ลืมดักจับ



38. ระวัง คอลัมภ์ allow null ใน database ดีดี ค่า <Null มัน

convert ไม่ได้



39. อย่าลืมว่า Database เป็น global variable ประเภทหนึ่ง

แต่ละโปรแกรมที่ติดต่อเปรียบเหมือน MultiThreading ดังนั้นกฏของ

Multithreading ต้องกระทำเมื่อทำงานกับ Database



40. ระวังอย่าให้ logic if then else ซ้อนกันมากมาก

เพราะสมองคนไม่ใช่ CPU

จินตนาการไม่ออกหรอกว่ามันอยู่ตรงไหนเวลา Debug

(ถ้ามากกว่าสามชั้นก็ลองคิดใหม่ดูว่าเขียนแบบอื่นได้ มั้ย)



41. ระวังอย่าให้ลูปซ้อนกันมากมาก

ไม่ใช่แค่เรื่องความเร็วอย่างเดียว เวลา

Debug เราคิดตามมันไม่ได้ (ถ้าเกินสามชั้นก็ไม่ไหวแล้ว)



42. อย่าใช้ Magic Number ใน Code เช่น if( controlingValue == 4)

เปลี่ยนไปใช้ Enum ดีกว่า เป็น if(

controlingValue ==

ControllingState.NORMAL ) เข้าใจง่ายกว่ามั้ย



43. ถ้าจะเปรียบเทียบ string Trim ซ้ายขวาก่อนเสมอ



44. คิดหลายๆ ครั้งก่อนใช้ Trigger



45. โปรแกรมเมอร์คือห่วงโซ่สุดท้ายของมลพิษทางความซับ ซ้อน

ดังนั้นหา project leader ดีดีแล้วกัน



46. มนุษย์ฉลาดกว่าคอมพิวเตอร์

การเขียนโปรแกรมก็คือการสอนให้คอมพิวเตอร์ฉลาดได้เหม ือนเรา

(มนุษย์ฉลาดกว่าคอมพิวเตอร์จริงๆนะ)



47. จงควบคุมคอม มิใช่ให้คอมควบคุมเรา เราต้องสั่งให้คอมทำงาน

ไม่ใช่ให้เราทำงานตามคอมสั่ง



48. อย่าปล่อยให้ข้อจำกัดของคอม มาจำกัดความคิดของเรา

[คอมไม่ดีเปลี่ยนเครื่องเลย 55+]



49. ยอมรับความคิดของผู้อื่น แต่อย่าออกจากกรอบของตนเอง



50. หมั่น Save โปรแกรมไว้อย่าสม่ำเสมอ ก่อนที่จะไม่มีโอกาส Save

[จะให้ดี Save เป็นแต่ละ Version เลย]



ไม่ได้บอกว่าต้องดีที่สุด แต่ควรทำดีที่สุด ..ก็เท่านั้น..
ที่มา : Mew  :46: