ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กรกฎาคม 10, 2010, 09:55:44 pm »

ปมตาไก่

เงื่อนเลข 8

ผูกร่น


เงื่อนพิรอด


เงื่อนขัดสมาธิ 2 ชั้น


เงื่อนบ่วงสายธนู



หลายเงื่อน หลายปมจัง  อันสุดท้ายนี่คุ้น ๆ นะ หุหุ

 
 :42: เงื่อนสุดท้ายนี่ พี่มะลิจะใช้คล้องใครหรือเปล่าครับ
ข้อความโดย: (〃ˆ ∇ ˆ〃)
« เมื่อ: กรกฎาคม 10, 2010, 06:55:19 pm »

ปมตาไก่

เงื่อนเลข 8

ผูกร่น


เงื่อนพิรอด


เงื่อนขัดสมาธิ 2 ชั้น


เงื่อนบ่วงสายธนู



หลายเงื่อน หลายปมจัง  อันสุดท้ายนี่คุ้น ๆ นะ หุหุ
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กรกฎาคม 06, 2010, 09:32:08 pm »

 :07: อนุโมทนาครับ
^^ เก่งอีกแล้ว..
ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: กรกฎาคม 06, 2010, 09:25:57 pm »

รู้เท่าทันปมแห่งความผูกมัด

ในพุทธศาสนาเราพูดถึง เงื่อนไข 10 ประการที่บั่นทอนความเป็นอิสระของเรา เวลาที่เราพูดถึงการหลุดพ้นนั่นคือการหลุดพ้นจาก "ปม" ที่ผูกมัดนี้ เพราะฉะนั้นเธอจะต้องฝึกปฏิบัติเจริญสมาธิที่เพื่อที ่จะคลายการผูกมัดจากปมทั้งหลาย

สิ่งที่ผูกมัดเราข้อแรกคือ ความอยากมีสิ่งต่างๆ ในความอยากนั้นมีสิ่งที่เป็นอันตราย เราคิดว่าสิ่งที่เราอยากนั้นเป็นสิ่งจำเป็นที่เราจะต ้องมี ถ้าเรามีสิ่งนั้นเราจึงจะมีความสุข แต่จริงๆ แล้วเราไม่ได้เห็นอันตรายในสิ่งที่เราอยากได้ ในสิ่งที่เราไขว่คว้าหามา ความอยากทำให้เราไม่สามารถสงบสุขได้อีกต่อไป มันทำให้เราไม่มีความพึงพอใจกับสิ่งที่เรามี สิ่งที่เราเป็น หรือสถานการณ์ที่เราเป็นอยู่ ความอยากทำให้เราไม่สามารถที่จะสัมผัสกับความสุขที่เ กิดขึ้น ณ ที่นี่ ขณะนี้ คำสอนของพระพุทธองค์นั้นคือการมีชีวิตอยู่อย่างเป็นส ุข ณ ที่นี่ ในขณะนี้ อยู่บนพื้นฐานของการมองอย่างลึกซึ้ง เพื่อให้เราเห็นว่าเรามีเงื่อนไขอย่างเพียงพอที่จะมี ความสุขในขณะนี้อยู่ แล้ว หากเรามีไฟแห่งความอยากอยู่ภายใน เราเชื่อว่า หากเราปราศจากสิ่งที่เราต้องการ เราจะไม่สามารถเป็นสุขได้อีกต่อไป ไฟแห่งความอยากทำให้เราสูญเสียความสุข ความสงบ และความสามารถที่จะมีความสุขในปัจจุบันขณะ นี่คือ 1 ใน 10 สิ่งที่ผูกมัดเราไว้ และเราจะต้องคลายปมเหล่านี้ออก

เราจะมองให้เห็น ถึงสิ่งที่เราอยากได้อย่างไร พระพุทธองค์ทรงยกตัวอย่างมากมาย เพื่อให้เราเห็นถึงอันตรายจากการวิ่งไขว่คว้าสิ่งที่ เราอยากได้ ตัวอย่างที่หนึ่งคือ ภาพของใครสักคนหนึ่งที่กำลังถือคบไฟและวิ่งต้านลม ลมกำลังเผาไหม้มือของเขาผู้นั้นแต่เขาก็ยังคงวิ่งต่อ ไป นั่นคืออันตรายของความอยาก

ตัวอย่างที่สองที่พระพุทธองค์ได้ทรงเสนอ ให้เราเห็นคือ ภาพของสุนัขที่กำลังวิ่งไล่กระดูกเปล่าๆ ถึงแม้ว่าสุนัขตัวนั้นจะได้กระดูกชิ้นนั้นแล้ว แต่ก็ยังไม่พึงพอใจ เพราะมันพยายามเคี้ยวกระดูกที่ไม่มีชิ้นเนื้อติดอยู่ เลย หนำซ้ำกระดูกนั้นเป็นกระดูกพลาสติกอีกต่างหาก สิ่งที่เราอยากได้ก็เป็นเช่นเดียวกัน สิ่งที่เราอยากได้ไม่เคยเติมเต็มความต้องการของเรา

อีกตัวอย่างหนึ่ง คือ ภาพของปลาที่กำลังงับเหยื่อบนเบ็ด ชาวประมงจะใช้เหยื่อติดขอเบ็ดเพื่อตกปลา แล้วโยนเบ็ดนั้นลงไปในแม่น้ำ เมื่อปลาเห็นเหยื่อตกปลาเหล่านั้นก็รู้สึกว่าเหยื่อน ่าดึงดูดใจ น่าเข้าไปกัดกินมาก โดยหารู้ไม่ว่าเมื่อกัดเข้าไปแล้ว ตนเองจะติดกับดักและถูกจับได้ ซึ่งบางครั้งเหยื่อปลาที่มีสีสันที่น่าดึงดูดเหล่านั ้นเป็นเพียงเหยื่อ พลาสติกด้วยซ้ำ

เพราะฉะนั้นเราจะต้องมองให้เห็นว่าสิ่งที่เราอยากได้ นั้นมีอันตราย เมื่อมองเห็นอย่างชัดเจน เราจะเห็นว่าถึงแม้สิ่งนั้นจะน่าดึงดูดใจ แต่มันจะไม่สามารถดึงดูดใจเราได้อีกต่อไปแล้ว เพราะเราเห็นถึงอันตรายของสิ่งที่เราอยากได้นั้น นี่คือสิ่งที่เราจะต้องฝึกทำสมาธิ

เท่าทันปมแห่งความโกรธ ความไม่รู้ ความเปรียบเทียบ และความสงสัย

ปมที่สองคือ ความโกรธ เปลวไฟแห่งความโกรธนั้นก็ทำลายเรามากพอๆ กับเปลวไฟแห่งความอยาก เมื่อความโกรธฝังอยู่ในตัวเรา เราจะไม่มีความสามารถมีความสงบ ความสุข ณ ที่นี่และขณะนี้ นั่นคือเหตุผลที่เราจะต้องฝึกปฏิบัติมองอย่างลึกซึ้ง ให้เห็นว่า ความโกรธนั้นเกิดจากความโง่เขลาหรืออวิชชา ซึ่งเป็นการมองเห็นอย่างผิดๆ การมองอย่างลึกซึ้งเช่นนี้ทำให้เราเข้าใจถึงความทุกข ์ ซึ่งคืออริยสัจข้อที่หนึ่งในอริยสัจ 4

เมื่อเราเข้าใจอริยสัจข้อที่ หนึ่ง คือการเห็นความทุกข์ เราก็จะสามารถก้าวข้ามความโกรธ และคลายปมแห่งความโกรธนั้นได้ ถ้าผู้ปฏิบัติสามารถสัมผัสได้ว่าความโกรธนั้นอยู่ในต ัวเขา เขาก็จะสามารถฝึกการคลายปมแห่งความโกรธที่อยู่ในตัวเ ขา ซึ่งจะช่วยปลดปล่อยจิตปรุงแต่งนั้น

ปมข้อที่สามคือ ความไม่รู้ อวิชชา หรือความคิดเห็นที่ผิด ทำให้เราสับสนว่าเราควรจะไปไหน ทำอะไร และไม่ควรทำอะไร ที่เราทำในสิ่งที่ผิด เราพูดในสิ่งที่ผิดเพราะว่าเรามีความโง่เขลา เรามีความไม่รู้ว่าอะไรคือสิ่งที่ถูก อะไรคือสิ่งที่ผิด นี่คือปมผูกมัดเราในข้อที่สาม

ปมข้อที่สี่คือ ความรู้สึกว่าตัวเองด้อยกว่า เหนือกว่า หรือเท่ากับคนอื่น นั่นเพราะว่าเรามีความคิดเห็นต่อความมีตัวตน ทำให้เกิดการเปรียบเทียบ ทำให้เกิดปมด้อย ปมเด่น ปมเท่าเทียมกันในใจของเรา และเราก็เป็นทุกข์กับความเด่น ความด้อย ความเท่าเทียมเหล่านั้น

ปมข้อที่ห้าคือ ความสงสัย ความไม่เชื่อ เวลาที่เราสงสัยเราก็จะไม่มีความสุข มันมีความไม่รู้ ความไม่เชื่ออยู่ตรงนั้น




ที่ thaiplumvillage
ธรรมบรรยายโดย ท่านติช นัท ฮันห์
ขอบคุณ  http://www.junjaowka.com/webboard/showthread.php?p=361302