ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: โลกส่วนตัว
« เมื่อ: สิงหาคม 11, 2010, 06:10:23 pm »

มีคนเคยประเมิณไว้ว่าตลอดชีวิตของคนคนนึง
เราหมดเวลากับการ 'รอ' ประมาณ 1 ปี

และเรามีสมรรถภาพในการรอลดต่ำลงเรื่อยๆ
ไม่ว่าจะเป็นการรอรถเมล์ รออาหารที่ไม่ยอมมาเสิร์ฟซักที
รอภาพยนตร์ฉายหน้าโรงหนัง รวมไปถึงรอการเดินทางของเพื่อน
บางทีเพราะนาฬิกาในตัวผมอาจจะถูกหมุนเร็วให้ขึ้นตามจังหวะของมหานครแห่งนี้


พอลองทบทวนดูดีๆ
ผมก็พบว่าตัวเองไม่ได้หงุดหงิดกับความสั้นยาวของการรอ
แต่ผมไม่ชอบใจที่ไม่รู้ว่าปลายทางของการรอคอยอยู่ที่ไหนมากกว่า
นั่นทำให้ผมชอบไฟแดงที่มีตัวเลขนับถอยหลังได้
มันช่วยให้การรอคอยนั้นมีความหมายขึ้นไม่มากก็น้อย
เช่นเดียวกับการเข้าแถวจ่ายค่าโทรศัพท์หรือค่าสาธารณูปโภคอื่นๆ
ที่ในบัตรคิวมมีตัวเลขบอกให้รู้ว่ายังมีคนก่อนหน้าเราอีกกี่คน
และการรอคอยคราวนี้น่าจะคิดเป็นเวลาซักกี่นาที



วอลต์ ดิสนีย์ เคยพูดถึงนโยบายการตั้งแถวจัดคิวไว้ว่า
ลักษณะของแถวมีผลต่อความรู้สึกของคนรออย่างมาก
ถ้าแถวขดไปขดมาเป็นงูเลื้อย คนจะรู้สึกว่าเยอะจนไม่อยากรอ
แต่ถ้าตั้งแถวเป็นเส้นตรงและหักเลี้ยวแค่ไม่กี่ที คนจะคิดว่าแถวไม่ยาวเท่าไหร่
เขาเผยเคล็ดลับเล็กๆ ให้ฟังว่า
มีการโกงลูกค้านิดหน่อยด้วยการขึ้นตัวเลขบอกเวลาว่าต้องรอ 45 นาที
ทั้งที่จริงๆ แล้วต้องรอแค่ 35 นาที
เมื่อลูกค้ามาถึงปลายทางด้วยเวลาที่เร็วขึ้น 10 นาที
เขาจะรู้สึกพอใจกับการให้บริการ
และจะรู้สึกดีกับการเข้าคิวรอในอนาคต

การเข้าคิวรอเลยเป็นเรื่อง ไม่นานเกินรอ
อย่างที่รงค์ วงษ์สวรรค์ เคยบัญญัติศัพย์คำนี้ไว้
ที่มา : AssumpBoard.com