ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: สิงหาคม 17, 2010, 11:39:03 pm »

 :13: อนุโมทนาสาธุครับ ขอบคุณครับสำหรับบทความดีๆที่นำมาเผยแพร่ให้พวกเราได้อ่านครับ ^^
ข้อความโดย: ดอกโศก
« เมื่อ: สิงหาคม 17, 2010, 08:34:13 pm »

อ้างถึง
ทั้งสุขทั้งทุกข์นั้นมิใช่ของจริง เหมือนดั่งเห็นเงาจันทร์ในขันน้ำ เงานั้นมิใช่ดวงจันทร์ที่แท้จริงดอก  สุขและทุกข์เป็นของไม่เที่ยง

อนุโมทนา สาธุค่ะ

อ่านแล้วรู้สึก สงบ เย็นใจมากค่ะ

 :13:
ข้อความโดย: sasita
« เมื่อ: สิงหาคม 17, 2010, 06:10:26 pm »




กล่าวถึงพระสารีบุตร เมื่อบวชแล้วก็พักอยู่ ณ ถ้ำสุกรขาตา บนเขาคิชฌกูฏกับพระพุทธองค์ ขณะนั้น ทีฆนขะ ซึ่งเป็นหลานชายอยู่ในสกุลพราหมณ์ เที่ยวเดินตามหาพระสารีบุตรผู้เป็นลุง เมื่อมองเห็นพระสารีบุตรถวายการพัดพระศาสดา ก็เกิดความไม่พอใจ ทีฆนขะกล่าวว่า “ข้าพเจ้าเห็นว่า ไม่มีสิ่งใดทำให้ข้าพเจ้าพอใจ หรือ ชอบใจได้เลย”

พระพุทธองค์จึงตรัสตอบไปว่า “ทีฆนขะเอ๋ย เจ้าก็ควรไม่พอใจกับความคิดเห็นของเจ้าด้วย”
 
ในใจของทีฆนขะอยากตอบโต้แต่ก็หาคำพูดใดมากล่าวโต้แย้งได้ พระพุทธองค์จึงเมตตาต่อไปว่า “ครั้งหนึ่งในอดีต มีพราหมณ์พวกหนึ่งถือตนว่า ไม่มีสิ่งใดเหมาะสมกับเรา ไม่มีสิ่งใดทำให้เราชอบใจได้ ส่วนพราหมณ์อีกพวกหนึ่งก็ถือว่า ทุกสิ่งล้วนเหมาะสมกับเรา เราพอใจไปหมดทุกสิ่ง ทั้งสองฝ่ายความเห็นไม่ตรงกัน จนเกิดทะเลาะกันไม่สิ้นสุด”
 
“พูดอะไรน่าเบื่อ” ทีฆนขะนึกคิดในใจ
 
พระพุทธองค์ก็ยังเมตตาต่อไปอีกว่า “ดูก่อน ทีฆนขะ มนุษย์เรานี้ เมื่อมีความสุขก็จะลืมความทุกข์ไปเสียสิ้น และเมื่อได้รับความทุกข์ ก็จะมองไม่เห็นความสุข คนส่วนมากเมื่อทุกข์ก็จะคิดว่าตัวต้องทุกข์ไปตลอด หรือเมื่อสุขก็คิดว่า ความสุขนั้นจะเป็นนิรันดร์ หารู้ไม่ว่าทั้งสุขทั้งทุกข์นั้นมิใช่ของจริง เหมือนดั่งเห็นเงาจันทร์ในขันน้ำ เงานั้นมิใช่ดวงจันทร์ที่แท้จริงดอก  สุขและทุกข์เป็นของไม่เที่ยง เมื่อเห็นดังนี้แล้ว ผู้ที่มีสติก็ย่อมเบื่อหน่ายทั้งสุขและทุกข์ ย่อมหลุดพ้นจากความยึดมั่นถือมั่น ไม่วิวาททุ่มเถียงกับผู้ใด แม้คำพูดนั้นจะระคายหู ก็ให้มีสติรู้ว่าเป็น แค่คำพูดเท่านั้นเอง”
 
ทีฆนขะเริ่มชัดแจ้งต่อคำสอนของพระพุทธองค์ “โอ บุคคลนี้สมเป็นศาสดาอย่างแท้จริง คำของท่านช่างชัดแจ้งดั่งบอกทางให้แก่คนหลงทาง เหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด ดั่งเทียนส่องสว่างกลางความมืด”
 
ทีฆนขะได้ดวงตาเห็นธรรม หมดข้อสงสัย ก้มกราบทูลพระพุทธองค์ ขอเป็นอุบาสกในพระพุทธศาสนา ขณะที่พระสารีบุตรนั่งถวายงานพัดอยู่ ได้ฟังพระพุทธดำรัสและพิจารณาไปตามเนื้อความแห่งธรรม จิตก็พ้นจากกิเลสทั้งปวง

ที่มาhttp://www.mindcyber.com/?p=354