ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: สิงหาคม 19, 2010, 10:34:50 pm »

 :13: อนุโมทนาสาธุ ขอบคุณครับพี่กัลยา ^^
ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: สิงหาคม 19, 2010, 12:18:35 pm »









พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม 4 ภาค 1- หน้าที่ 282


มารดาเมื่อหวังผลคือบุตรย่อมนอบน้อม

เทพดา ถามถึงฤกษ์ ฤดู และปีทั้งหลาย เมื่อ

มารดาอาบแล้ว ในเพราะฤดู สัตว์เกิดในครรภ์

ย่อมก้าวลง ด้วยเหตุนั้น มารดา ท่านจึงเรียก

ว่า โทหฬินี หญิงแพ้ท้อง ด้วยเหตุนั้น

ท่านจึงเรียกว่า สุหทา หญิงมีใจดี มารดา

นั้นถนอม ครรภ์ ปีหนึ่งหรือหย่อนปีหนึ่ง

แล้วจึงคลอด ด้วยเหตุนั้น ๆ ท่านจึงเรียกว่า

ชนยนฺตี ชเนตฺตี ผู้ยังบุตรให้เกิด มารดา

ปลอบโยนบุตรผู้ร้องไห้ด้วยน้ำนม ด้วยเพลง

ขับและด้วยเครื่องกกคืออวัยวะด้วยเหตุนั้น

ท่านจึงเรียกว่า โตเสนฺตี ผู้ยังบุตรให้ยินดีหรือ

ปลอบโยนแต่นั้นเมื่อลมและแดดแรงกล้า

มารดาทำความหวั่นใจ คอยแลดูบุตรผู้ยังเป็นทารก

ไม่เดียงสาด้วยเหตุนั้น ท่านจึงเรียกว่า โปเสนฺตี

ผู้เลี้ยง ทรัพย์ของมารดาอันใดมีอยู่ และทรัพย์

ของบิดาอันใดมีอยู่มารดาย่อมคุ้มครองทรัพย์

แม้ทั้ง 2 นั้นไว้เพื่อบุตรนั่น ด้วยหวังว่า เออก็

ทรัพย์ทั้งหมดนี้ ควรเป็นของบุตรเรา มารดา

เมื่อให้บุตรสำเหนียกว่า อย่างนี้ลูก อย่างโน้นลูก

เป็นต้น ย่อมเดือดร้อนด้วยประการฉะนี้ เมื่อ

บุตรถึงความเป็นหนุ่มแล้ว มารดารู้ว่า บุตรมัวเมา

ในภริยาของผู้อื่น ในเวลาค่ำคืน ไม่กลับมาใน

เวลาเย็น ย่อมเดือดร้อน ด้วยประการฉะนี้.

บุตรผู้อันมารดาเลี้ยงดูมาแล้ว ด้วยความลำบาก

อย่างนี้ไม่บำรุงมารดา บุตรนั้นชื่อว่าประพฤติผิดใน

มารดาย่อมเข้าถึงนรก บุตรผู้อันบิดาเลี้ยงมาแล้วด้วย

ความลำบากอย่างนี้ ไม่บำรุงบิดา บุตรนั้นชื่อว่าประ-

พฤติผิดในบิดา ย่อมเข้าถึงนรก เราได้สดับมาว่า.......................................

เพราะไม่บำรุงมารดา แม้ทรัพย์ที่เกิดแก่บุตรทั้งหลายผู้

ปรารถนาทรัพย์ย่อมฉิบหายหรือบุตรนั้นย่อมเข้าถึง

ความยากแค้นเราได้สดับมาว่าเพราะไม่บำรุงบิดา

แม้ทรัพย์ที่เกิดแก่บุตรทั้งหลายผู้ปรารถนาทรัพย์ย่อม

ฉิบหายหรือบุตรนั้นย่อมเข้าถึงความยากแค้นความ

รื่นเริง ความบันเทิงและความหัวเราะเล่นหัวกันทุก

เมื่อบัณฑิตผู้รู้แจ้งพึงได้เพราะการบำรุงมารดา ความ

รื่นเริง ความบันเทิงและความหัวเราะเล่นหัวกันทุก

เมื่อบัณฑิตผู้รู้แจ้งพึงได้เพราะการบำรุงบิดา สังคห -

วัตถุ 4 ประการนี้ คือทาน.......................................

การให้ 1

ปิยวาจา เจรจาคำน่ารัก 1

อัตถจริยา การประพฤติประโยชน์  1

สมานัตตตา ความเป็นผู้มีตนเสมอในธรรมทั้งหลาย

ตามสมควรในที่นั้น ๆ 1





.....................ขอเชิญดาวน์โหลดไฟล์ตามอัทยาศัย...................