ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 01, 2010, 11:46:57 pm »

 :13: อนุโมทนาครับน้องฝน
ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: กันยายน 01, 2010, 05:12:48 pm »

สติปัฏฐานสี่


คือ ความระลึกอยู่เสมอว่าขณะนี้เราทำอะไร มีสติตั้งมั่นอยู่กับการพิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม จะยืน เดิน นั่ง นอน กำหนด สติพิจารณาทุกอิริยาบถ
วิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเบื้องต้น

การยืน
ให้ยกมือไขว้หลัง มือข้อจับข้อมือซ้าย วางไว้ตรงกระเบนเหน็บ ยืนตรง หน้าตรง หลับตา ให้สติอยู่ที่กลางกระหม่อม สำรวจจิต เอาสติตาม วาดมโนภาพร่างกายคำว่ายืน จากศีรษะลงมาหยุดที่สะดือ คำว่าหนอจากสะดือลงไปปลายเท้านับเป็น ๑ ครั้ง ครั้งที่ ๒ กำหนดขึ้นคำว่ายืนอยู่ปลายเท้ามาหยุดที่สะดือ คำว่าหนอจากสะดือไปกลางกระหม่อม กำหนดกลับไปกลับมาจนครบ ๒ ครั้ง ขณะนั้นสำรวมจิตอยู่ที่กาย อย่าให้ออกนอกกายแล้วลืมตาค่อย ๆ ก้มหน้ามองดูปลายเท้า ให้สติจับอยู่ที่ปลายเท้าเพื่อเตรียมเดินจงกลมต่อไป

การเดิน
กำหนดว่าขวาย่างหนอ ในใจคำว่าขวา ยกส้นเท้าขวาขึ้นประมาณ ๒ นิ้ว
เท้ากับใจนึกต้องพร้อมกัน ย่างก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าอย่างช้าๆ เท้ายังไม่เหยียบพื้น คำว่า
หนอเท้าลงถึงพื้นพอกัน จากนั้นสำรวจจิตไว้ที่เท้าซ้ายตั้งสติตั้งลงไป กำหนดว่าซ้ายย่างหนอ สลับกันเช่นนี้ไปเรื่อยๆ ไประยะก้าวได้ดีขึ้น เมื่อเดินสุดสถานที่แล้ว ให้นำเท้ามาเคียงกัน หน้าตรง หลับตา กำหนดยืนหนอช้าๆ อีก ๕ ครั้ง จากนั้นลืมตา ก้มหน้า
มองดูปลายเท้า

การกลับ
กำหนดว่า กลับ…..หนอ ๔ ครั้ง คำว่า กลับหนอครั้งที่หนึ่ง ยกปลายเท้าขวา ใช้ส้นเท้าขวาหมุนตัวไปทางขวา ๙๐ องศา ครั้งที่สอง เคลื่อนเท้าซ้ายมาชิดกับเท้าขวา ครั้งที่สามทำเหมือนครั้งที่ ๑ ครั้งที่สี่ ทำเหมือนครั้งที่ ๒ เมื่อครบสี่ครั้งแล้วจะอยู่ในท่ากลับหลังต่อไปกำหนด ยืนหนอช้าๆ อีก ๕ ครั้ง ลืมตา ก้มหน้า แล้วกำหนดเดิน ต่อไปจนหมดเวลาที่ต้องการ

การนั่ง
ให้ทำต่อจากการเดินจงกลม อย่าให้ขาดตอนเมื่อเดินจงกลมถึงที่จะนั่ง ให้กำหนดยืนหนออีก ๕ ครั้ง แล้วกำหนดปล่อยมือลงข้างตัวว่า ปล่อยมือหนอๆ ช้าๆ จนกว่าจะลงสุด เวลานั่งค่อยๆ ย่อตัวลง พร้อมกำหนดตามอารมณ์ที่ทำไปจริงๆ เช่น ย่อตัวหนอๆๆ
เท้าพื้นหนอๆๆ คุกเข่าหนอๆๆ นั่งหนอๆๆ เป็นต้น

วิธีนั่ง
ให้นั่งขัดสมาธิ คือ ขาขวาทับขาซ้าย นั่งตัวตรงหลับตา เอาสติจับอยู่ที่ท้องพอง ยุบ เวลาหายใจเข้าท้องพอง กำหนดว่าพองหนอ หายใจออกท้องยุบ กำหนดว่ายุบหนอ
ใจนึกกับท้องที่พอง ยุบต้องให้ทันกัน ให้สติจับอยู่ที่การพอง ยุบของท้องเท่านั้น อย่าดูลมที่จมูกอย่าตะเบ็งท้อง ให้รู้สึกถึงความเป็นจริงว่า ท้องพองไปข้างหน้า ท้องยุบมาข้างหลัง กำหนดเช่นนี้ไปจนกว่าจะถึงเวลาที่กำหนด

การนอน
เวลานอนค่อยๆ เอนตัวนอน พร้อมกับกำหนดตามไปว่านอนหนอๆๆ จนกว่าจะนอนเรียบร้อย ขณะนั้นให้เอสติจับอยู่กับอาการเคลื่อนไหวของร่างกาย เมื่อนอนเรียบร้อยแล้วให้ตั้งสติจับที่ท้องหายใจเข้าออกยาวๆ สบายๆ ภาวนาพองยุบ ยุบหนอ ได้ยินอะไรก็กำหนดไปเรื่อยๆ อย่าไปเพ่งที่ท้องมาก ไม่หลับ ให้ตั้งสติไว้หายใจเรื่อยไปว่า พองหนอ
ยุบหนอ จนกว่าจะหลับ เมื่อตื่นก่อนลืมตาให้กำหนดว่า ตื่นหนอ กำหนดที่ท้องว่าพองหนอ
ยุบหนอ ครู่หนึ่ง แล้วกำหนด ลืมตา และการลุกขึ้นนั่งต่อไป

กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน

คือ การรู้สภาพของร่างกายในขณะนั้นว่ากำลังทำอะไรอยู่ ไม่ว่ากายจะยืน
กายจะเดิน กายจะนั่ง กายจะนอน จะพักผ่อนอันใด มีสติควบคุม จิตต้องกำหนด
กำหนดกายยืน กำหนดกายนั่ง กำหนดกายนอน กำหนดกายที่จะเอนนอนลงไปต้องกำหนดทุกอิริยาบถ จะก้าวเยื้องซ้ายและขวาไปที่ไหนกำหนดตั้งสติไว้ให้เป็นปัจจุบัน
กำหนดแปลว่า ความรู้ของชีวิตอันมีสติควบคุม เช่น ก่อนจะเดินให้สำรวมจิตอยู่ที่เท้าขวา ตั้งสติปักลงไป แล้วกำหนดในใจว่าขวา ให้ยกส้นเท้าขวาขึ้น สติระลึกรู้พร้อมกับส้นเท้าที่ยกขึ้น ย่าง ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า สติระลึกรู้พร้อมกับเท้าขวาที่เคลื่อนไปข้างหน้า
หนอ วางเท้าลงถึงพื้น ปลายเท้า และส้นเท้าลงพร้อมกัน สติระลึกรู้พร้อมกับเท้าที่ลงสัมผัสพื้น หรือจะหยิบสิ่งของอะไร ก็ให้สำรวจจิตอยู่กับที่มือขวาที่จะหยิบ ตั้งสติปักลงไปที่มือขวาจะหยิบนั้น แล้วกำหนดในใจว่า หยิบหนอ หยิบหนอ สติระดับรู้พร้อมกับมือขวาที่กำหนดหยิบของสิ่งนั้น เป็นต้น

เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน

คือ สิ่งที่บังคับไม่ได้ ต้องใช้สติคอยควบคุมได้แก่ สุขเวทนา มีทั้งสุดกาย สุขใจ ทุกขเวทนาก็ทุกข์กาย ทุกข์ใจ และอุเบกขาเวทนาคือ เฉยๆ ไม่สุดไม่ทุกข์จิตใจเลื่อนลอย
ไม่มีที่เกาะ ขณะกำลังรู้อยู่ในการเดินหรือนั่งก็ตาม กำหนดพองหนอ ยุบหนอหรือก็ตาม
เมื่ออาการของเวทนาดังกล่าวข้างต้นเกิดขึ้น ให้ทิ้งการกำหนด เดิน นั่ง และยุบ พอง
ก่อนมากำหนดรู้อยู่ที่อาการของเวทนาที่เกิดขึ้น กำหนดตรงเวทนานั้นให้มันหายไป เช่น
ปวด เมื่อย เจ็บ คัน แน่น เสียด ตรงไหนก็กำหนดตรงนั้น ปวดเมื่อยต้นคอ ก็เอาจิตปักลงไปที่ต้นคอที่ปวดแล้ว กำหนดว่าปวดหนอ ปวดหนอ คัน ก็เอาจิตปักลงไปที่คัน

ตั้งสติกำหนด คันหนอ คันหนอ เป็นต้น ถ้าจิตเกิดอาการดีใจ เสียใจ โกรธ ขณะเดิน นั่ง
หรือกำหนดพอง ยุบ ให้เอาจิตปักลงไปที่ลิ้นปี่ หายใจยาวๆ จากจมูกถึงสะดือ ตั้งสติกำหนดตามสภาวะของอารมณ์ที่เป็นไปขณะนั้น ตามจริงว่า ดีใจหนอ เสียใจหนอ หรือโกรธหนอ อุเบกขา ไม่สุข ไม่ทุกข์ ใจลอยหาที่เกาะไม่ได้ ให้กำหนดที่ลิ้นปี่ตั้งสติระลึกก่อน กำหนดรู้หนอ รู้หนอ เป็นต้น
เมื่อกำหนดเวทนาที่เกิดจนหาย และกลับสู่สภาวะปกติแล้ว ขณะนั้นหากอยู่ในอาการใด เดิน นั่ง หรือยุบหนอ พองหนอ อยู่ก็ตาม ให้กลับมากำหนดรู้อยู่ในอาการนั้นต่อไป

จิตตาปุนัสสุนาสติปัฏฐาน

คือ จิตเป็นธรรมชาติให้รับรู้ และอ่านอารมณ์เหมือนเทปบันทึกเสียง จิตเกิดทางอายตนะ ธาตุอินทรีย์ ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
๑. เวลาตาเห็นรูป ให้กำหนดว่า เห็นหนอๆ ตั้งสติเอาไว้ที่ตา
๒. เวลาหูได้ยินเสียง ให้กำหนดว่า เสียงหนอๆ ตั้งสติไว้ที่หู
๓. เวลาจมูกได้กลิ่น ให้กำหนดว่า กลิ่นหนอๆ ตั้งสติไว้ที่จมูก
๔. เวลาลิ้นได้รส ให้กำหนดว่า รสหนอๆ ตั้งสติไว้ที่ลิ้น
๕. เวลากายถูก เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ให้กำหนดว่า ถูกหนอๆ
๖. เวลาจิตใจคิดถึงความโลภ โกรธ หลง ขึ้นมา เพราะกำหนดทวารทั้งห้า ข้างต้นไม่ทัน เลยเป็นอดีตให้กำหนดว่า รู้หนอๆ ตั้งสติไว้ที่ลิ้นปี่
เหตุที่ต้องกำหนดจิต และตั้งสติเช่นนี้ เพราะจิตของเราอยู่ใต้บังคับความโลภ
ความโกรธ และความหลง เช่น หูได้ยินเสียง กำหนดไม่ทัน เลยเป็นอดีตไปแล้วทำให้เกิดชอบใจเป็นโลภ ไม่ชอบใจเป็นโทสะ ถ้าไม่กำหนดหรือพิจารณาตามความเป็นจริงแล้ว เป็นโมหะ ตาเห็นรูป จมูกได้กลิ่น ลิ้นได้รส ก็เช่นเดียวกัน

ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน

คือ การกำหนดรู้ธรรมทั้งหลายทั้งปวง ได้แก่ นิวรณ์ ขันธ์ ๕ อายตนะ โพชฌงค์
อริยสัจ ๕ รู้อารมณ์ที่เกิดขึ้นกับจิตที่เป็น กุศล อกุศล หรืออัพยากฤต (กลางๆ) การกำหนดธรรม เมื่อเกิดความรู้สึกต่างๆ อันเป็นนิวรณ์ธรรม เช่น การได้ยิน หรือความพอใจในอารมณ์ ภายนอก (กามฉันทะ) หรือความโกรธ (พยาบาท) ความฟุ้งซ่านรำคาญใจ
(อุทธัจกุกกุจีจะ) หรือการง่วนเหงาหาวนอน (ถีนมิทธะ) หรือมีความคิดลังเล สงสัยในการปฏิบัติ (วิจิกิจฉา) เป็นไปต่างๆ เช่นนี้ ก็ให้ตั้งสติไว้ที่ลิ้นปี่หายใจลึกๆ ยาวๆ กำหนดรู้อาการของจิตทันทีที่รู้ เช่น มีกามฉันทะเกิดขึ้น ก็ให้กำหนดว่าชอบหนอ เมื่อมีความโกรธหรือพยาบาทเกิดขึ้น ก็ให้กำหนดว่าโกรธหนอ เมื่อง่วงเหงาหาวนอน ก็กำหนดว่าง่วงหนอ
เมื่อคิดถึงสิ่งนอกกายคิดถึงบ้าน คิดถึงคนรู้จัก ก็กำหนดว่าคิดหนอ เมื่อเกิดการฟุ้งซ่านคือคิดย้ำเรื่องเดิมนั้นอยู่เรื่อยๆ ก็กำหนดฟุ้งซ่านหนอ เมื่อมีการสงสัยเกิดขึ้น ก็กำหนดว่าสงสัยหนอ
เมื่อกำหนดอาการที่เป็นนิวรณ์ธรรมที่เกิดขึ้นจนหายแล้ว ให้กลับมากำหนดที่กายเดิน หรือพองยุบต่อไปตามเดิมประคองสติให้ติดกันเป็นอันดี ข้อสำคัญที่สุด ผู้ปฏิบัติคือการกำหนดให้เป็นปัจจุบัน

ที่มา จากหนังสือ ทางสายเอกเจริญพระกรรมฐาน..ได้อะไร, กรรมฐานแก้กรรมได้อย่างไร, กรรมฐานแก้ปัญหาชีวิต
โดย หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม วัดอัมพวัน อ. พรหมบุรี จ. สิงห์บุรี
สติปัฏฐานสี่


คือ ความระลึกอยู่เสมอว่าขณะนี้เราทำอะไร มีสติตั้งมั่นอยู่กับการพิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม จะยืน เดิน นั่ง นอน กำหนด สติพิจารณาทุกอิริยาบถ
วิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเบื้องต้น

การยืน
ให้ยกมือไขว้หลัง มือข้อจับข้อมือซ้าย วางไว้ตรงกระเบนเหน็บ ยืนตรง หน้าตรง หลับตา ให้สติอยู่ที่กลางกระหม่อม สำรวจจิต เอาสติตาม วาดมโนภาพร่างกายคำว่ายืน จากศีรษะลงมาหยุดที่สะดือ คำว่าหนอจากสะดือลงไปปลายเท้านับเป็น ๑ ครั้ง ครั้งที่ ๒ กำหนดขึ้นคำว่ายืนอยู่ปลายเท้ามาหยุดที่สะดือ คำว่าหนอจากสะดือไปกลางกระหม่อม กำหนดกลับไปกลับมาจนครบ ๒ ครั้ง ขณะนั้นสำรวมจิตอยู่ที่กาย อย่าให้ออกนอกกายแล้วลืมตาค่อย ๆ ก้มหน้ามองดูปลายเท้า ให้สติจับอยู่ที่ปลายเท้าเพื่อเตรียมเดินจงกลมต่อไป

การเดิน
กำหนดว่าขวาย่างหนอ ในใจคำว่าขวา ยกส้นเท้าขวาขึ้นประมาณ ๒ นิ้ว
เท้ากับใจนึกต้องพร้อมกัน ย่างก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าอย่างช้าๆ เท้ายังไม่เหยียบพื้น คำว่า
หนอเท้าลงถึงพื้นพอกัน จากนั้นสำรวจจิตไว้ที่เท้าซ้ายตั้งสติตั้งลงไป กำหนดว่าซ้ายย่างหนอ สลับกันเช่นนี้ไปเรื่อยๆ ไประยะก้าวได้ดีขึ้น เมื่อเดินสุดสถานที่แล้ว ให้นำเท้ามาเคียงกัน หน้าตรง หลับตา กำหนดยืนหนอช้าๆ อีก ๕ ครั้ง จากนั้นลืมตา ก้มหน้า
มองดูปลายเท้า

การกลับ
กำหนดว่า กลับ…..หนอ ๔ ครั้ง คำว่า กลับหนอครั้งที่หนึ่ง ยกปลายเท้าขวา ใช้ส้นเท้าขวาหมุนตัวไปทางขวา ๙๐ องศา ครั้งที่สอง เคลื่อนเท้าซ้ายมาชิดกับเท้าขวา ครั้งที่สามทำเหมือนครั้งที่ ๑ ครั้งที่สี่ ทำเหมือนครั้งที่ ๒ เมื่อครบสี่ครั้งแล้วจะอยู่ในท่ากลับหลังต่อไปกำหนด ยืนหนอช้าๆ อีก ๕ ครั้ง ลืมตา ก้มหน้า แล้วกำหนดเดิน ต่อไปจนหมดเวลาที่ต้องการ

การนั่ง
ให้ทำต่อจากการเดินจงกลม อย่าให้ขาดตอนเมื่อเดินจงกลมถึงที่จะนั่ง ให้กำหนดยืนหนออีก ๕ ครั้ง แล้วกำหนดปล่อยมือลงข้างตัวว่า ปล่อยมือหนอๆ ช้าๆ จนกว่าจะลงสุด เวลานั่งค่อยๆ ย่อตัวลง พร้อมกำหนดตามอารมณ์ที่ทำไปจริงๆ เช่น ย่อตัวหนอๆๆ
เท้าพื้นหนอๆๆ คุกเข่าหนอๆๆ นั่งหนอๆๆ เป็นต้น

วิธีนั่ง
ให้นั่งขัดสมาธิ คือ ขาขวาทับขาซ้าย นั่งตัวตรงหลับตา เอาสติจับอยู่ที่ท้องพอง ยุบ เวลาหายใจเข้าท้องพอง กำหนดว่าพองหนอ หายใจออกท้องยุบ กำหนดว่ายุบหนอ
ใจนึกกับท้องที่พอง ยุบต้องให้ทันกัน ให้สติจับอยู่ที่การพอง ยุบของท้องเท่านั้น อย่าดูลมที่จมูกอย่าตะเบ็งท้อง ให้รู้สึกถึงความเป็นจริงว่า ท้องพองไปข้างหน้า ท้องยุบมาข้างหลัง กำหนดเช่นนี้ไปจนกว่าจะถึงเวลาที่กำหนด

การนอน
เวลานอนค่อยๆ เอนตัวนอน พร้อมกับกำหนดตามไปว่านอนหนอๆๆ จนกว่าจะนอนเรียบร้อย ขณะนั้นให้เอสติจับอยู่กับอาการเคลื่อนไหวของร่างกาย เมื่อนอนเรียบร้อยแล้วให้ตั้งสติจับที่ท้องหายใจเข้าออกยาวๆ สบายๆ ภาวนาพองยุบ ยุบหนอ ได้ยินอะไรก็กำหนดไปเรื่อยๆ อย่าไปเพ่งที่ท้องมาก ไม่หลับ ให้ตั้งสติไว้หายใจเรื่อยไปว่า พองหนอ
ยุบหนอ จนกว่าจะหลับ เมื่อตื่นก่อนลืมตาให้กำหนดว่า ตื่นหนอ กำหนดที่ท้องว่าพองหนอ
ยุบหนอ ครู่หนึ่ง แล้วกำหนด ลืมตา และการลุกขึ้นนั่งต่อไป

กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน

คือ การรู้สภาพของร่างกายในขณะนั้นว่ากำลังทำอะไรอยู่ ไม่ว่ากายจะยืน
กายจะเดิน กายจะนั่ง กายจะนอน จะพักผ่อนอันใด มีสติควบคุม จิตต้องกำหนด
กำหนดกายยืน กำหนดกายนั่ง กำหนดกายนอน กำหนดกายที่จะเอนนอนลงไปต้องกำหนดทุกอิริยาบถ จะก้าวเยื้องซ้ายและขวาไปที่ไหนกำหนดตั้งสติไว้ให้เป็นปัจจุบัน
กำหนดแปลว่า ความรู้ของชีวิตอันมีสติควบคุม เช่น ก่อนจะเดินให้สำรวมจิตอยู่ที่เท้าขวา ตั้งสติปักลงไป แล้วกำหนดในใจว่าขวา ให้ยกส้นเท้าขวาขึ้น สติระลึกรู้พร้อมกับส้นเท้าที่ยกขึ้น ย่าง ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า สติระลึกรู้พร้อมกับเท้าขวาที่เคลื่อนไปข้างหน้า
หนอ วางเท้าลงถึงพื้น ปลายเท้า และส้นเท้าลงพร้อมกัน สติระลึกรู้พร้อมกับเท้าที่ลงสัมผัสพื้น หรือจะหยิบสิ่งของอะไร ก็ให้สำรวจจิตอยู่กับที่มือขวาที่จะหยิบ ตั้งสติปักลงไปที่มือขวาจะหยิบนั้น แล้วกำหนดในใจว่า หยิบหนอ หยิบหนอ สติระดับรู้พร้อมกับมือขวาที่กำหนดหยิบของสิ่งนั้น เป็นต้น

เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน

คือ สิ่งที่บังคับไม่ได้ ต้องใช้สติคอยควบคุมได้แก่ สุขเวทนา มีทั้งสุดกาย สุขใจ ทุกขเวทนาก็ทุกข์กาย ทุกข์ใจ และอุเบกขาเวทนาคือ เฉยๆ ไม่สุดไม่ทุกข์จิตใจเลื่อนลอย
ไม่มีที่เกาะ ขณะกำลังรู้อยู่ในการเดินหรือนั่งก็ตาม กำหนดพองหนอ ยุบหนอหรือก็ตาม
เมื่ออาการของเวทนาดังกล่าวข้างต้นเกิดขึ้น ให้ทิ้งการกำหนด เดิน นั่ง และยุบ พอง
ก่อนมากำหนดรู้อยู่ที่อาการของเวทนาที่เกิดขึ้น กำหนดตรงเวทนานั้นให้มันหายไป เช่น
ปวด เมื่อย เจ็บ คัน แน่น เสียด ตรงไหนก็กำหนดตรงนั้น ปวดเมื่อยต้นคอ ก็เอาจิตปักลงไปที่ต้นคอที่ปวดแล้ว กำหนดว่าปวดหนอ ปวดหนอ คัน ก็เอาจิตปักลงไปที่คัน

ตั้งสติกำหนด คันหนอ คันหนอ เป็นต้น ถ้าจิตเกิดอาการดีใจ เสียใจ โกรธ ขณะเดิน นั่ง
หรือกำหนดพอง ยุบ ให้เอาจิตปักลงไปที่ลิ้นปี่ หายใจยาวๆ จากจมูกถึงสะดือ ตั้งสติกำหนดตามสภาวะของอารมณ์ที่เป็นไปขณะนั้น ตามจริงว่า ดีใจหนอ เสียใจหนอ หรือโกรธหนอ อุเบกขา ไม่สุข ไม่ทุกข์ ใจลอยหาที่เกาะไม่ได้ ให้กำหนดที่ลิ้นปี่ตั้งสติระลึกก่อน กำหนดรู้หนอ รู้หนอ เป็นต้น
เมื่อกำหนดเวทนาที่เกิดจนหาย และกลับสู่สภาวะปกติแล้ว ขณะนั้นหากอยู่ในอาการใด เดิน นั่ง หรือยุบหนอ พองหนอ อยู่ก็ตาม ให้กลับมากำหนดรู้อยู่ในอาการนั้นต่อไป

จิตตาปุนัสสุนาสติปัฏฐาน

คือ จิตเป็นธรรมชาติให้รับรู้ และอ่านอารมณ์เหมือนเทปบันทึกเสียง จิตเกิดทางอายตนะ ธาตุอินทรีย์ ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
๑. เวลาตาเห็นรูป ให้กำหนดว่า เห็นหนอๆ ตั้งสติเอาไว้ที่ตา
๒. เวลาหูได้ยินเสียง ให้กำหนดว่า เสียงหนอๆ ตั้งสติไว้ที่หู
๓. เวลาจมูกได้กลิ่น ให้กำหนดว่า กลิ่นหนอๆ ตั้งสติไว้ที่จมูก
๔. เวลาลิ้นได้รส ให้กำหนดว่า รสหนอๆ ตั้งสติไว้ที่ลิ้น
๕. เวลากายถูก เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ให้กำหนดว่า ถูกหนอๆ
๖. เวลาจิตใจคิดถึงความโลภ โกรธ หลง ขึ้นมา เพราะกำหนดทวารทั้งห้า ข้างต้นไม่ทัน เลยเป็นอดีตให้กำหนดว่า รู้หนอๆ ตั้งสติไว้ที่ลิ้นปี่
เหตุที่ต้องกำหนดจิต และตั้งสติเช่นนี้ เพราะจิตของเราอยู่ใต้บังคับความโลภ
ความโกรธ และความหลง เช่น หูได้ยินเสียง กำหนดไม่ทัน เลยเป็นอดีตไปแล้วทำให้เกิดชอบใจเป็นโลภ ไม่ชอบใจเป็นโทสะ ถ้าไม่กำหนดหรือพิจารณาตามความเป็นจริงแล้ว เป็นโมหะ ตาเห็นรูป จมูกได้กลิ่น ลิ้นได้รส ก็เช่นเดียวกัน

ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน

คือ การกำหนดรู้ธรรมทั้งหลายทั้งปวง ได้แก่ นิวรณ์ ขันธ์ ๕ อายตนะ โพชฌงค์
อริยสัจ ๕ รู้อารมณ์ที่เกิดขึ้นกับจิตที่เป็น กุศล อกุศล หรืออัพยากฤต (กลางๆ) การกำหนดธรรม เมื่อเกิดความรู้สึกต่างๆ อันเป็นนิวรณ์ธรรม เช่น การได้ยิน หรือความพอใจในอารมณ์ ภายนอก (กามฉันทะ) หรือความโกรธ (พยาบาท) ความฟุ้งซ่านรำคาญใจ
(อุทธัจกุกกุจีจะ) หรือการง่วนเหงาหาวนอน (ถีนมิทธะ) หรือมีความคิดลังเล สงสัยในการปฏิบัติ (วิจิกิจฉา) เป็นไปต่างๆ เช่นนี้ ก็ให้ตั้งสติไว้ที่ลิ้นปี่หายใจลึกๆ ยาวๆ กำหนดรู้อาการของจิตทันทีที่รู้ เช่น มีกามฉันทะเกิดขึ้น ก็ให้กำหนดว่าชอบหนอ เมื่อมีความโกรธหรือพยาบาทเกิดขึ้น ก็ให้กำหนดว่าโกรธหนอ เมื่อง่วงเหงาหาวนอน ก็กำหนดว่าง่วงหนอ
เมื่อคิดถึงสิ่งนอกกายคิดถึงบ้าน คิดถึงคนรู้จัก ก็กำหนดว่าคิดหนอ เมื่อเกิดการฟุ้งซ่านคือคิดย้ำเรื่องเดิมนั้นอยู่เรื่อยๆ ก็กำหนดฟุ้งซ่านหนอ เมื่อมีการสงสัยเกิดขึ้น ก็กำหนดว่าสงสัยหนอ
เมื่อกำหนดอาการที่เป็นนิวรณ์ธรรมที่เกิดขึ้นจนหายแล้ว ให้กลับมากำหนดที่กายเดิน หรือพองยุบต่อไปตามเดิมประคองสติให้ติดกันเป็นอันดี ข้อสำคัญที่สุด ผู้ปฏิบัติคือการกำหนดให้เป็นปัจจุบัน

ที่มา จากหนังสือ ทางสายเอกเจริญพระกรรมฐาน..ได้อะไร, กรรมฐานแก้กรรมได้อย่างไร, กรรมฐานแก้ปัญหาชีวิต
โดย หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม วัดอัมพวัน อ. พรหมบุรี จ. สิงห์บุรี
สติปัฏฐานสี่


คือ ความระลึกอยู่เสมอว่าขณะนี้เราทำอะไร มีสติตั้งมั่นอยู่กับการพิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม จะยืน เดิน นั่ง นอน กำหนด สติพิจารณาทุกอิริยาบถ
วิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเบื้องต้น

การยืน
ให้ยกมือไขว้หลัง มือข้อจับข้อมือซ้าย วางไว้ตรงกระเบนเหน็บ ยืนตรง หน้าตรง หลับตา ให้สติอยู่ที่กลางกระหม่อม สำรวจจิต เอาสติตาม วาดมโนภาพร่างกายคำว่ายืน จากศีรษะลงมาหยุดที่สะดือ คำว่าหนอจากสะดือลงไปปลายเท้านับเป็น ๑ ครั้ง ครั้งที่ ๒ กำหนดขึ้นคำว่ายืนอยู่ปลายเท้ามาหยุดที่สะดือ คำว่าหนอจากสะดือไปกลางกระหม่อม กำหนดกลับไปกลับมาจนครบ ๒ ครั้ง ขณะนั้นสำรวมจิตอยู่ที่กาย อย่าให้ออกนอกกายแล้วลืมตาค่อย ๆ ก้มหน้ามองดูปลายเท้า ให้สติจับอยู่ที่ปลายเท้าเพื่อเตรียมเดินจงกลมต่อไป

การเดิน
กำหนดว่าขวาย่างหนอ ในใจคำว่าขวา ยกส้นเท้าขวาขึ้นประมาณ ๒ นิ้ว
เท้ากับใจนึกต้องพร้อมกัน ย่างก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าอย่างช้าๆ เท้ายังไม่เหยียบพื้น คำว่า
หนอเท้าลงถึงพื้นพอกัน จากนั้นสำรวจจิตไว้ที่เท้าซ้ายตั้งสติตั้งลงไป กำหนดว่าซ้ายย่างหนอ สลับกันเช่นนี้ไปเรื่อยๆ ไประยะก้าวได้ดีขึ้น เมื่อเดินสุดสถานที่แล้ว ให้นำเท้ามาเคียงกัน หน้าตรง หลับตา กำหนดยืนหนอช้าๆ อีก ๕ ครั้ง จากนั้นลืมตา ก้มหน้า
มองดูปลายเท้า

การกลับ
กำหนดว่า กลับ…..หนอ ๔ ครั้ง คำว่า กลับหนอครั้งที่หนึ่ง ยกปลายเท้าขวา ใช้ส้นเท้าขวาหมุนตัวไปทางขวา ๙๐ องศา ครั้งที่สอง เคลื่อนเท้าซ้ายมาชิดกับเท้าขวา ครั้งที่สามทำเหมือนครั้งที่ ๑ ครั้งที่สี่ ทำเหมือนครั้งที่ ๒ เมื่อครบสี่ครั้งแล้วจะอยู่ในท่ากลับหลังต่อไปกำหนด ยืนหนอช้าๆ อีก ๕ ครั้ง ลืมตา ก้มหน้า แล้วกำหนดเดิน ต่อไปจนหมดเวลาที่ต้องการ

การนั่ง
ให้ทำต่อจากการเดินจงกลม อย่าให้ขาดตอนเมื่อเดินจงกลมถึงที่จะนั่ง ให้กำหนดยืนหนออีก ๕ ครั้ง แล้วกำหนดปล่อยมือลงข้างตัวว่า ปล่อยมือหนอๆ ช้าๆ จนกว่าจะลงสุด เวลานั่งค่อยๆ ย่อตัวลง พร้อมกำหนดตามอารมณ์ที่ทำไปจริงๆ เช่น ย่อตัวหนอๆๆ
เท้าพื้นหนอๆๆ คุกเข่าหนอๆๆ นั่งหนอๆๆ เป็นต้น

วิธีนั่ง
ให้นั่งขัดสมาธิ คือ ขาขวาทับขาซ้าย นั่งตัวตรงหลับตา เอาสติจับอยู่ที่ท้องพอง ยุบ เวลาหายใจเข้าท้องพอง กำหนดว่าพองหนอ หายใจออกท้องยุบ กำหนดว่ายุบหนอ
ใจนึกกับท้องที่พอง ยุบต้องให้ทันกัน ให้สติจับอยู่ที่การพอง ยุบของท้องเท่านั้น อย่าดูลมที่จมูกอย่าตะเบ็งท้อง ให้รู้สึกถึงความเป็นจริงว่า ท้องพองไปข้างหน้า ท้องยุบมาข้างหลัง กำหนดเช่นนี้ไปจนกว่าจะถึงเวลาที่กำหนด

การนอน
เวลานอนค่อยๆ เอนตัวนอน พร้อมกับกำหนดตามไปว่านอนหนอๆๆ จนกว่าจะนอนเรียบร้อย ขณะนั้นให้เอสติจับอยู่กับอาการเคลื่อนไหวของร่างกาย เมื่อนอนเรียบร้อยแล้วให้ตั้งสติจับที่ท้องหายใจเข้าออกยาวๆ สบายๆ ภาวนาพองยุบ ยุบหนอ ได้ยินอะไรก็กำหนดไปเรื่อยๆ อย่าไปเพ่งที่ท้องมาก ไม่หลับ ให้ตั้งสติไว้หายใจเรื่อยไปว่า พองหนอ
ยุบหนอ จนกว่าจะหลับ เมื่อตื่นก่อนลืมตาให้กำหนดว่า ตื่นหนอ กำหนดที่ท้องว่าพองหนอ
ยุบหนอ ครู่หนึ่ง แล้วกำหนด ลืมตา และการลุกขึ้นนั่งต่อไป

กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน

คือ การรู้สภาพของร่างกายในขณะนั้นว่ากำลังทำอะไรอยู่ ไม่ว่ากายจะยืน
กายจะเดิน กายจะนั่ง กายจะนอน จะพักผ่อนอันใด มีสติควบคุม จิตต้องกำหนด
กำหนดกายยืน กำหนดกายนั่ง กำหนดกายนอน กำหนดกายที่จะเอนนอนลงไปต้องกำหนดทุกอิริยาบถ จะก้าวเยื้องซ้ายและขวาไปที่ไหนกำหนดตั้งสติไว้ให้เป็นปัจจุบัน
กำหนดแปลว่า ความรู้ของชีวิตอันมีสติควบคุม เช่น ก่อนจะเดินให้สำรวมจิตอยู่ที่เท้าขวา ตั้งสติปักลงไป แล้วกำหนดในใจว่าขวา ให้ยกส้นเท้าขวาขึ้น สติระลึกรู้พร้อมกับส้นเท้าที่ยกขึ้น ย่าง ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า สติระลึกรู้พร้อมกับเท้าขวาที่เคลื่อนไปข้างหน้า
หนอ วางเท้าลงถึงพื้น ปลายเท้า และส้นเท้าลงพร้อมกัน สติระลึกรู้พร้อมกับเท้าที่ลงสัมผัสพื้น หรือจะหยิบสิ่งของอะไร ก็ให้สำรวจจิตอยู่กับที่มือขวาที่จะหยิบ ตั้งสติปักลงไปที่มือขวาจะหยิบนั้น แล้วกำหนดในใจว่า หยิบหนอ หยิบหนอ สติระดับรู้พร้อมกับมือขวาที่กำหนดหยิบของสิ่งนั้น เป็นต้น

เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน

คือ สิ่งที่บังคับไม่ได้ ต้องใช้สติคอยควบคุมได้แก่ สุขเวทนา มีทั้งสุดกาย สุขใจ ทุกขเวทนาก็ทุกข์กาย ทุกข์ใจ และอุเบกขาเวทนาคือ เฉยๆ ไม่สุดไม่ทุกข์จิตใจเลื่อนลอย
ไม่มีที่เกาะ ขณะกำลังรู้อยู่ในการเดินหรือนั่งก็ตาม กำหนดพองหนอ ยุบหนอหรือก็ตาม
เมื่ออาการของเวทนาดังกล่าวข้างต้นเกิดขึ้น ให้ทิ้งการกำหนด เดิน นั่ง และยุบ พอง
ก่อนมากำหนดรู้อยู่ที่อาการของเวทนาที่เกิดขึ้น กำหนดตรงเวทนานั้นให้มันหายไป เช่น
ปวด เมื่อย เจ็บ คัน แน่น เสียด ตรงไหนก็กำหนดตรงนั้น ปวดเมื่อยต้นคอ ก็เอาจิตปักลงไปที่ต้นคอที่ปวดแล้ว กำหนดว่าปวดหนอ ปวดหนอ คัน ก็เอาจิตปักลงไปที่คัน

ตั้งสติกำหนด คันหนอ คันหนอ เป็นต้น ถ้าจิตเกิดอาการดีใจ เสียใจ โกรธ ขณะเดิน นั่ง
หรือกำหนดพอง ยุบ ให้เอาจิตปักลงไปที่ลิ้นปี่ หายใจยาวๆ จากจมูกถึงสะดือ ตั้งสติกำหนดตามสภาวะของอารมณ์ที่เป็นไปขณะนั้น ตามจริงว่า ดีใจหนอ เสียใจหนอ หรือโกรธหนอ อุเบกขา ไม่สุข ไม่ทุกข์ ใจลอยหาที่เกาะไม่ได้ ให้กำหนดที่ลิ้นปี่ตั้งสติระลึกก่อน กำหนดรู้หนอ รู้หนอ เป็นต้น
เมื่อกำหนดเวทนาที่เกิดจนหาย และกลับสู่สภาวะปกติแล้ว ขณะนั้นหากอยู่ในอาการใด เดิน นั่ง หรือยุบหนอ พองหนอ อยู่ก็ตาม ให้กลับมากำหนดรู้อยู่ในอาการนั้นต่อไป

จิตตาปุนัสสุนาสติปัฏฐาน

คือ จิตเป็นธรรมชาติให้รับรู้ และอ่านอารมณ์เหมือนเทปบันทึกเสียง จิตเกิดทางอายตนะ ธาตุอินทรีย์ ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
๑. เวลาตาเห็นรูป ให้กำหนดว่า เห็นหนอๆ ตั้งสติเอาไว้ที่ตา
๒. เวลาหูได้ยินเสียง ให้กำหนดว่า เสียงหนอๆ ตั้งสติไว้ที่หู
๓. เวลาจมูกได้กลิ่น ให้กำหนดว่า กลิ่นหนอๆ ตั้งสติไว้ที่จมูก
๔. เวลาลิ้นได้รส ให้กำหนดว่า รสหนอๆ ตั้งสติไว้ที่ลิ้น
๕. เวลากายถูก เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ให้กำหนดว่า ถูกหนอๆ
๖. เวลาจิตใจคิดถึงความโลภ โกรธ หลง ขึ้นมา เพราะกำหนดทวารทั้งห้า ข้างต้นไม่ทัน เลยเป็นอดีตให้กำหนดว่า รู้หนอๆ ตั้งสติไว้ที่ลิ้นปี่
เหตุที่ต้องกำหนดจิต และตั้งสติเช่นนี้ เพราะจิตของเราอยู่ใต้บังคับความโลภ
ความโกรธ และความหลง เช่น หูได้ยินเสียง กำหนดไม่ทัน เลยเป็นอดีตไปแล้วทำให้เกิดชอบใจเป็นโลภ ไม่ชอบใจเป็นโทสะ ถ้าไม่กำหนดหรือพิจารณาตามความเป็นจริงแล้ว เป็นโมหะ ตาเห็นรูป จมูกได้กลิ่น ลิ้นได้รส ก็เช่นเดียวกัน

ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน

คือ การกำหนดรู้ธรรมทั้งหลายทั้งปวง ได้แก่ นิวรณ์ ขันธ์ ๕ อายตนะ โพชฌงค์
อริยสัจ ๕ รู้อารมณ์ที่เกิดขึ้นกับจิตที่เป็น กุศล อกุศล หรืออัพยากฤต (กลางๆ) การกำหนดธรรม เมื่อเกิดความรู้สึกต่างๆ อันเป็นนิวรณ์ธรรม เช่น การได้ยิน หรือความพอใจในอารมณ์ ภายนอก (กามฉันทะ) หรือความโกรธ (พยาบาท) ความฟุ้งซ่านรำคาญใจ
(อุทธัจกุกกุจีจะ) หรือการง่วนเหงาหาวนอน (ถีนมิทธะ) หรือมีความคิดลังเล สงสัยในการปฏิบัติ (วิจิกิจฉา) เป็นไปต่างๆ เช่นนี้ ก็ให้ตั้งสติไว้ที่ลิ้นปี่หายใจลึกๆ ยาวๆ กำหนดรู้อาการของจิตทันทีที่รู้ เช่น มีกามฉันทะเกิดขึ้น ก็ให้กำหนดว่าชอบหนอ เมื่อมีความโกรธหรือพยาบาทเกิดขึ้น ก็ให้กำหนดว่าโกรธหนอ เมื่อง่วงเหงาหาวนอน ก็กำหนดว่าง่วงหนอ
เมื่อคิดถึงสิ่งนอกกายคิดถึงบ้าน คิดถึงคนรู้จัก ก็กำหนดว่าคิดหนอ เมื่อเกิดการฟุ้งซ่านคือคิดย้ำเรื่องเดิมนั้นอยู่เรื่อยๆ ก็กำหนดฟุ้งซ่านหนอ เมื่อมีการสงสัยเกิดขึ้น ก็กำหนดว่าสงสัยหนอ
เมื่อกำหนดอาการที่เป็นนิวรณ์ธรรมที่เกิดขึ้นจนหายแล้ว ให้กลับมากำหนดที่กายเดิน หรือพองยุบต่อไปตามเดิมประคองสติให้ติดกันเป็นอันดี ข้อสำคัญที่สุด ผู้ปฏิบัติคือการกำหนดให้เป็นปัจจุบัน

ที่มา จากหนังสือ ทางสายเอกเจริญพระกรรมฐาน..ได้อะไร, กรรมฐานแก้กรรมได้อย่างไร, กรรมฐานแก้ปัญหาชีวิต
โดย หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม วัดอัมพวัน อ. พรหมบุรี จ. สิงห์บุรี