ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: สายลมที่หวังดี
« เมื่อ: กันยายน 02, 2010, 09:18:13 pm »

 :12: ได้ความรู้ใหม่
ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: สิงหาคม 30, 2010, 02:44:25 pm »




 :06: :06: :06: :06:โหหหหหหหห  แพะดัดฟันด้วยอ่ะงับ  พี่บอล+พี่ทีทามะคุงเคยเหนป่าว555+
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: สิงหาคม 30, 2010, 02:40:09 pm »

 :13: ขอบคุณครับพี่แป้ง
ข้อความโดย: ธรรมรักษ์
« เมื่อ: สิงหาคม 30, 2010, 01:53:22 pm »

ซึ่งตามหลักศาสนาแล้ว คงไ่ม่มีใครจะรับบาปแทนใครได้หรอก(บาป=ผลกรรม)
แต่ในโลกของความเป็นจริง เรื่องแบบนี้เกิดขึ้นอยู่จนเป็นปกติของคนบางกลุ่มชนไปเสียแล้ว :16:
ข้อความโดย: sasita
« เมื่อ: สิงหาคม 30, 2010, 12:00:55 pm »





"แพะรับบาป"  พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้อธิบายว่า
เป็นสำนวน ซึ่งหมายถึงคนที่รับเคราะห์กรรมแทนผู้อื่นที่ทำกรรมนั้น

ส่วนที่มาของสำนวนนี้ พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พิมพ์ครั้งที่ ๒ (แก้ไขเพิ่มเติม) ได้ระบุไว้ ดังนี้
ที่มาของคำว่า แพะรับบาป นี้ ปรากฏในคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม
ซึ่งเป็นคัมภีร์ของชาวอิสราเอลผู้มีภูมิหลังเป็นผู้มีอาชีพเลี้ยงแพะ เลี้ยงแกะ

แพะรับบาปเป็นพิธีปฏิบัติในวันลบบาปประจำปีของชาวอิสราเอล
ซึ่งเริ่มต้นด้วยปุโรหิตถวายวัวเป็นเครื่องบูชาไถ่บาปของตนเองและครอบครัว

เมื่อเสร็จพิธีแล้ว ปุโรหิตจะนำแพะ ๒ ตัวไปถวายพระเป็นเจ้าที่ประตูเต็นท์นัดพบ
และจับสลากเลือกแพะ ๒ ตัวนั้น

สลากที่ ๑ เป็นสลากสำหรับแพะที่ถวายพระเป็นเจ้า อีกสลากหนึ่งเป็นสลากสำหรับแพะรับบาป
หากสลากแรกตกแก่แพะตัวใด แพะตัวนั้นจะถูกฆ่าและถวายเป็นเครื่องบูชา
เพื่อไถ่บาปของประชาชน เรียกว่า "แพะรับบาป"

ส่วนสลากที่ ๒ หากตกแก่แพะตัวใด แพะตัวนั้นเรียกว่า "แพะรับบาป"
ซึ่งปุโรหิตจะถวายพระเป็นเจ้าทั้งยังมีชีวิตอยู่
แล้วใช้ทำพิธีลบบาปของประชาชน โดยยกบาปให้ตกที่แพะตัวนั้น
เสร็จแล้วก็จะปล่อยแพะตัวนั้นให้นำบาปเข้าไปในป่าลึกจนแพะและบาปไม่สามารถกลับมาอีก

ส่วนในศาสนาฮินดู เซอร์มอเนียร์ วิลเลียมส์ สันนิษฐานว่า
การฆ่ามนุษย์บูชายัญคงไม่เป็นที่ถูกอัธยาศัยพื้นฐานของพวกอารยัน

คัมภีร์พราหมณะจึงอธิบายว่าเทวดาฆ่ามนุษย์
ส่วนที่เหมาะสมจะใช้บูชายัญก็ออกไปจากมนุษย์เข้าสู่ร่างม้า
ม้าจึงกลายเป็นสัตว์ที่เหมาะสมจะใช้บูชายัญ
เมื่อฆ่าม้า ส่วนที่เหมาะสมจะใช้บูชาก็ออกจากม้าไปเข้าร่างโค
เมื่อฆ่าโค ส่วนที่เหมาะสมจะใช้บูชาก็ออกจากโคไปสู่แกะ จากแกะไปแพะ
ส่วนที่เหมาะสมจะใช้บูชา คงอยู่ในตัวแพะนานที่สุด
แพะจึงกลายเป็นสัตว์ที่เหมาะสมที่สุดสำหรับใช้ฆ่าบูชายัญ

ที่มา  http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?Search=1&ID=2114
เวปไซต์ราชบััณฑิตยสถาน