ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 02, 2010, 11:22:39 pm »

 :13: อนุโมทนาครับ ขอบคุณครับน้องป้อ
ข้อความโดย: ธรรมรักษ์
« เมื่อ: กันยายน 02, 2010, 11:01:35 pm »

ประโยชน์ของศาสนา


ศาสนา มีประโยชน์และความสำคัญในฐานะที่เป็นสถาบันหลักสำหรับยึดเหนี่ยวจิตใจ และเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตให้อยู่ได้ในสังคมอย่างปกติสุข ซึ่งสรุปได้ดังนี้

๑. เป็นหลักควบคุมความประพฤติของคนในสังคม มนุษย์เราเมื่ออยู่ในสังคมจะต้องมีกฎระเบียบ เพื่อป้องกันการล่วงละเมิดสิทธิซึ่งกันและกัน และลงโทษผู้กระทำผิด แต่ในสังคมมีความหลากหลายซับซ้อน กฎระเบียบอย่างเดียวจึงไม่เพียงพอ จึงต้องมีหลักคำสอนทางศาสนามาปฏิบัติเพื่อให้เป็นคนดีตามหลักศาสนานั้น และส่งเสริมให้คนมีเมตตา เอื้ออาทรต่อกัน และอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

๒. ช่วยให้สังคมเกิดความสามัคคีมีเอกภาพ เพราะศาสนาจะมีหลักปฏิบัติตามให้เป็นคนมีเหตุมีผล และมีใจกว้างเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน รักใคร่ปรองดองกัน สามัคคีกัน แม้กระทั้งคนที่อยู่ต่างศาสนาก็สามารถเข้าใจกันและร่วมมือกัน ประสานสามัคคีได้ สังคมของคนที่นับถือศาสนาจึงมีความสามัคคีและมีเอกภาพ

๓. ศาสนาช่วยให้สังคมดำเนินไปอย่างสันติสุขและราบรื่น อันเนื่องจากศาสนามีส่วนช่วยในการดำเนินชีวิตของศาสนิกชน กล่าวคือ เมื่อศาสนิกชนยึดคำสอนของศาสนาปฏิบัติในชีวิต จะทำให้สามารถแก้ปัญญาชีวิตด้วยเหตุผลและปัญญาเป็นหลักในการตัดสินใจ ทำให้รู้จักอดกลั้น รู้จักขุมอารมณ์ นอกจากนี้ศาสนายังช่วยยกระดับจิตใจของมนุษย์ให้สูงขึ้น

๔. เป็นการชดเชยความต้องการพื้นฐานของผู้นับถือศาสนา มนุษย์โดยธรรมชาติมีความต้องการพื้นฐานเหมือนกันคือ ด้านร่างกาย ด้านอาหาร เรื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค ด้านสังคม ก็ต้องการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ช่วยเหลือปรองดองกัน ด้านปัญญา ก็ต้องการหลักแห่งความเป็นเหตุ เป็นผล ในการดำเนินชีวิต ด้านจิตใจ ก็ต้องการกำลังใจ ความหวังที่จะมีชีวิตอยู่อย่างมีความสุข จึงกล่าวได้ว่าแต่ละศาสนาจะมีหลักที่ตอบสนองความต้องการพื้นฐานของศาสนิกชน ของตนได้อย่างชัดเจน

๕. ศาสนาเป็นบ่อเกิดของการสรรค์สร้างวัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรม สถาปัตยกรรม และวรรณคดี ล้าวนมีแหล่งกำเนิดมาจากคำสอนทางศาสนาเป็นส่วนใหญ่ เช่น เรื่องการทำความดี นรก สวรรค์ ที่เป็นคำสอนในพระพุทธศาสนา ทำให้เกิดงานศิลปะเป็นจิตรกรรมฝาผนัง พระเวสสันดรชาดก พระมหาชนก เป็นวรรณกรรมไทยที่สำคัญโดยมีที่มาจากคำสอนในชาดก มารยาทไทย การกราบ การไหว้ รวมไปถึงประเพณีต่าง ๆ ตั้งแต่เกิดจนกระทั้งตายของผู้คนส่วนมากล้วนมาจากพระพุทธศาสนาเกือบทั้งสิ้น