ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: mmm
« เมื่อ: กันยายน 03, 2010, 11:53:17 am »

 :45: :45: :45: :45:

สาธุครับ
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: สิงหาคม 30, 2010, 07:57:28 pm »

 :13: อนุโมทนาครับ ขอบคุณครับพี่กัลยา
ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: สิงหาคม 30, 2010, 07:39:03 pm »


พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 121


ก็ในสูตรนี้ คำใดที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ มีอาทิว่า ทิฏเฐ วาธมฺเม

เพื่อไม่ให้ฟั่นเฟือนในคำนั้นในที่นี้ ควรกล่าวจำแนกกรรม(ออกไป)

อธิบายว่า โดยปริยายแห่งพระสูตร พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงจำแนกกรรม

ไว้ ๑๑ อย่าง คือ.............................................................

ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ๑

อุปปัชชเวทนียกรรม ๑

อปรปริยายเวทนียกรรม ๑

ครุกกรรม ๑

พหุลกรรม ๑

ยทาสันนกรรม ๑

กฏัตตวาปนกรรม ๑

ชนกกรรม ๑

อุปัตถัมภกกรรม ๑

อุปปีฬกกรรม ๑

อุปฆาตกกรรม ๑ ฯลฯ


พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 129



อธิบายกฏัตตาวาปนกรรม

ส่วนกรรมนอกเหนือจากกรรม ๓ ดังกล่าวมาแล้วนี้ ทำไปโดยไม่รู้

ชื่อว่า{กฏัตตาวาปนกรรม}กฏัตตาวาปนกรรมนั้น อำนวยวิบากได้ใน

กาลบางครั้งเพราะไม่มีกรรม ๓ อย่างเหล่านั้นเหมือนท่อนไม้ที่

คนบ้าขว้างไปจะตกไปในที่ ๆ ไม่มีจุดหมายฉะนั้น

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: สิงหาคม 30, 2010, 07:35:58 pm »


กัตตตา{ความกระทำแล้ว} + กัมมะ{การกระทำ คือ เจตนาเจตสิก ความตั้งใจ ความจงใจ}

กรรมที่สักว่ากระทำแล้ว หมายถึง กรรมเล็กน้อยที่ไม่ใช่ครุกรรม ไม่ใช่อาสันนกรรม และ

ไม่ใช่อาจิณณกรรม เพียงสักว่ากระทำโดยที่เจตนาไม่มีกำลังมาก ทางฝ่ายกุศล เช่น ไม่

เต็มใจที่จะให้เงินแก่ผู้ยากไร้ที่กำลังรบเร้าขออยู่ แต่ก็เสียไม่ได้ที่จะต้องให้ กุศลเจตนาที่ให้

มีเพียงเล็กน้อยเป็น กฏัตตากรรม {กฏัตตาวาปณกรรม}ทางฝ่ายอกุศล เช่นไม่ต้องการ

ที่จะฆ่ามดซึ่งเกาะอยู่ที่ถ้วยชามที่กำลังจะล้าง แต่ด้วยความเกียจคร้านที่จะต้องจับมดออกที

ละตัว จึงเทน้ำหรือฉีดน้ำเพื่อไล่มด โดยที่รู้ว่ามดนั้นอาจจะตายได้ ถ้ามดตาย{อกุศลกรรม}นี้

เป็น กฏัตตากรรม ซึ่งแม้จะเล็กน้อยก็ให้ผลนำปฏิสนธิได้

ฉะนั้น............สภาพธรรมของกฏัตตากรรม หรือกฏัตตาวาปนกรรม จึงได้แก่ เจตนาเจตสิกที่เกิดกับ

มหากุศลจิต ๘ ดวง และอกุศลจิต ๑๒ ดวง