ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 06, 2010, 08:22:14 pm »

 :13: อนุโมทนาครับพี่แป๋ม^^
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 06, 2010, 05:13:58 pm »


คติธรรมเซน  :  


คติธรรม ๑ : ความเป็นจริงต่าง ๆ ของชีวิต ส่วนใหญ่มองเห็นได้
อย่างแท้จริงจากสิ่งต่าง ๆ และการกระทำต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน

คติธรรม ๒ : ทุกสิ่งทุกอย่างดำรงอยู่อย่างสอดคล้องกับธรรมชาติ
ของมันเอง การรับรู้ส่วนตัวของเราในเรื่องเกี่ยวกับค่า ความถูกต้อง
ความงาม ขนาด และคุณค่า ล้วนแต่อยู่ในหัวของเรา ไม่ได้อยู่ข้างนอกเลย

คติธรรม ๓ : ทุกสิ่งทุกอย่างดำรงอยู่โดยสัมพันธ์กับสิ่งอื่นๆ

คติธรรม ๔ : ตัวตนและสิ่งอื่น ๆ ที่เหลือไว้ในจักรวาลไม่ได้แบ่งแยกกัน
อย่างแท้จริง แต่ทำหน้าที่เป็นองค์รวม

คติธรรม ๕ : มนุษย์เกิดขึ้นจากธรรมชาติ และก้าวหน้าไปอย่าง
มีประสิทธิผลที่สุด
ด้วยการร่วมมือกับธรรมชาติ แทนที่จะพยายามเอาชนะมัน

คติธรรม ๖ : ไม่มีอัตตาในความหมายของจิตวิญาณส่วนตัว
หรือบุคคลิกภาพที่ไม่เปลี่ยนแปลงอันคงอยู่ต่อไปได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด
ซึ่งข่มร่างกายเอาไว้เป็นการชั่วคราว

คติธรรม ๗ : ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งที่แท้จริงไม่ได้เกิดจากความรู้
เฉพาะด้าน จากการเป็นสมาชิกของคณะกลุ่มบุคคล จากลัทธิหรือหลักความเชื่อ
มันมาจากญาณหยั่งรู้ก่อนจิตสำนึกแห่งการดำรงอยู่ทั้งปวงทั้งปวงของตน
จากรหัสของตนเอง

คติธรรม ๘ : รูปแบบต่าง ๆ เกิดจากความว่าง เมื่อผู้ใดว่างจากสมมุติฐาน
และการวินิจฉัยที่สั่งสมมาหลายปี ผู้นั้นจะเข้าไกล้ธรรมชาติดั้งเดิมของตน
ย่อมเข้าใจแนวคิดดั้งเดิม และสามารถแสดงปฏิกิริยาตอบโต้ได้อย่างใหม่สด

คติธรรม ๙ : การทำตนเป็นผู้สังเกตุการณ์ในขณะที่เป็นผู้มีส่วนร่วม
พร้อมกันด้วยนั้น จักทำให้การกระทำของผู้นั้นเสื่อมเสียไป

คติธรรม ๑๐ : ความมั่นคงและความไม่เปลี่ยนแปลงนั้นถักทอขึ้นด้วยจิตใจ
ที่ถูกครอบงำโดยอัตตาและหาได้ดำรงอยู่ในธรรมชาติไม่
การยอมรับความไม่มั่นคง และผูกพันตนเองกับสิ่งที่ไม่รู้จะก่อให้เกิดศรัทธาต่อจักรวาล

คติธรรม ๑๑ : คนเราสามารถมีชีวิตอยู่ได้ก็แต่ในขณะปัจจุบันเท่านั้น

คติธรรม ๑๒ : กระบวนการแห่งการใช้ชีวิตและถ้อยคำต่าง ๆ เกี่ยวกับมัน
ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน และไม่ควรได้รับการปฏิบัติต่อ อย่างมีคุณค่าเท่าเทียมกัน

คติธรรม ๑๓ : เมื่อเราเข้าใจถึงความไม่ลงรอยกันระหว่างทฤษฏีต่าง ๆ
เกี่ยวกับชีวิตและสิ่งที่เรารู้สึกได้จากญาณหยั่งรู้ว่าเป็นความจริง
โดยไม่ต้องใช้คำพูดและไม่ได้อาศัยการวินิจฉัย ก็ไม่มีอะไรที่ต้องทำอีกแล้ว
นอกจากหัวเราะ

คติธรรม ๑๔ : ศิลปะเซนมีคุณสมบัติในลักษณาการดังนี้ มันสามารถหลอมรวม
เอาความชื่นชมต่องานทัศนศิลป์ ความรู้เกี่ยวกับชีวิต และประสบการณ์
และญาณหยั่งรู้ส่วนตัวให้เข้ากันเป็นเหตุการณ์ที่สร้างสรรค์หนึ่งเดียวกัน

คติธรรม ๑๕ : เราแต่ละคนจะพัฒนาไปสู่ความเป็นเอกปัจเจกชน
ผู้ติดต่อโดยจำเพาะเจาะจงกับโลก ที่ดำรงอยู่สำหรับคนคนนั้น

คัดลอกโดย... โอสถ


ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 06, 2010, 04:45:56 pm »



เซน ศิลปะแห่งการรู้แจ้ง แง้มประตูพุทธธรรม
คติธรรมเซน


เซนถือว่าถ้อยคำประกาศสัจจะที่แสดงถึงภูมิปัญญา
ของผู้แถลง ไม่มีความหมาย
จนกว่าประสบการณ์ของเรา จะซึมซับมันเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของเรา
และเราได้ให้ความหมาย เฉพาะตัวของเราแก่มัน เท่านั้น

การมองภาพเซนจึงไม่ต้องใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับศิลปะ
ไม่ต้องคร่ำเคร่งศึกษาเพื่อจะได้เข้าใจภูมิหลังของมัน
เพราะหัวใจของภาพเซนคือ
ความเป็นไปของชีวิตและการดำรงอยู่ของพลังจักรวาล
ท่ามกลางความแปรปรวนอันยิ่งใหญ่ของธรรมชาติ

สิ่งที่เราใช้มองภาพเซนจึงเป็นประสบการณ์ชีวิต
ประสบการณ์ที่แตกต่าง
จะได้ประโยชน์ที่แตกต่าง และเมื่อการมองภาพเซนสิ้นสุด
มันก็ไม่ได้ทิ้งความประทับใจหลงเหลือไว้ให้เรา
แต่เรากลับกระปรี้กระเปร่าขึ้น จากการค้นพบคุณค่าบางอย่าง
ที่ทำให้โลกภายในของเราสงบนิ่งและสว่างไสว





จากหนังสือ เซนศิลปะแห่งการรู้แจ้ง เข้าถึงคติธรรมเซนผ่านภาพเซน
และบทกวีไฮกุ " เหล่าซือ " เรียบเรียง
โดย... โอสถ