ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: theerada
« เมื่อ: มิถุนายน 16, 2011, 05:43:30 pm »

ขอบคุณค่ะ โมทนาด้วยนะคะ ^^
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: มิถุนายน 10, 2011, 12:21:10 pm »





รูปที่ชอบใจและรูปที่ไม่ชอบใจ

พุทธดำรัส“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลเห็นรูปที่ชอบใจและรูปที่ไม่ชอบใจแล้ว
พึงบรรเทาความกำหนัดในรูปที่ชอบใจ และไม่พึงเสียใจว่าเราได้รูปไม่น่ารัก
ได้ยินเสียงที่น่ารักและเสียงที่ไม่น่ารัก พึงระงับใจว่าเราได้เสียงไม่น่ารัก

พึงบรรเทาความขัดเคืองใจในเกลิ่นที่ไม่น่าใคร และพึงกำจัดความดีใจในกลิ่นที่น่าใคร่
ไม่พึงลิ้มรสที่อร่อยด้วยความติดใจ และไม่ควรยินร้ายในเมื่อลิ้มรสที่ไม่อร่อย
ถูกสัมผัสที่เป็นสุขกระทบเข้าแล้ว ไม่พึงมัวเมา
แม้ถูกสัมผัสที่เป็นทุกข์กระทบเข้าก็ไม่ควรหวั่นไหว ใจที่บุคคลเจริญดีแล้ว
ในอารมณ์ ๖ อย่างนี้ใน
กาลใดในกาลนั้นจิตของบุคคลนั้น ย่อมไม่หวั่นไหวในที่ใด....”

สังคัยหสูตร

“ดูก่อนมาลุงกยบุตร ในบรรดาธรรมที่เธอเห็นแล้ว ฟังแล้ว รู้แล้ว
รู้แจ้งแล้วเหล่านั้น
ในรูปที่เห็นแล้ว จักเป็นแค่เห็น ในเสียงที่ได้ยิน จักเป็นแต่ได้ยิน
ในอารมณ์ที่จักเป็นแต่รู้ ในอารมณ์ที่รู้แจ้งจักเป็นแต่รู้แจ้ง
เธอจักเป็นผู้ไม่ถูกราคะย้อม ไม่ถูกโทสะประทุษร้าย ไม่หลงเพราะโมหะ......”

สังคัยหสูตร

“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุไม่ระวังอินทรีย์ คือ จักษุ... หู... จมูก...
ลิ้น... กาย... ใจ...
จิตย่อมใส่ไปในรูป... เสียง... กลิ่น... รส... โผฏฐัพพะ...ธรรมารมณ์
เมื่อภิกษุมีจิตแส่ไปแล้วปราโมทย์ก็ไม่มี เมื่อปราโมทย์ไม่มี ปีติก็ไม่มี
เมื่อปีติไม่มี ปัสสัทธิก็ไม่มี ปีติก็ไม่มี เมื่อปีติไม่มี ปัสสัทธิก็ไม่มี

เมื่อปัสสัทธิไม่มี ภิกษุนั้นย่อมอยู่เป็นทุกข์ จิตของภิกษุผู้มีทุกข์ย่อมไม่เป็นสมาธิ
เมื่อจิตไม่เป็นสมาธิ ธรรมทั้งหลายย่อมไม่ปรากฏ....
.............. ภิกษุนั้นย่อมนับได้ว่าเป็นผู้อยู่ด้วยความประมาท..........”

ปมาทวิหารีสูตร