ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: AnamCaraSHC
« เมื่อ: สิงหาคม 04, 2012, 07:46:09 am »

โปรแกรมนี้ใช้การฝึกสมาธิเป็นฐาน (Meditation-based program) ประยุกต์และสังเคราะห์ขึ้นจากหลักการคำสอนภูมิปัญญาดั้งเดิมของโลกตะวันออกทางศาสนา หลักสัจธรรม และจิตบำบัดแบบตะวันตกหลายแนวเข้าด้วยกัน  โดยเลือกเฉพาะส่วนที่เป็นแก่นสาระสำคัญ และสามารถนำมาฝึกปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวัน มีหลักแนวคิดที่เป็นวิทยาศาสตร์ มีเหตุมีผล ซึ่งได้แก่

          1.  หลักสมาธิลมหายใจ(อานาปานสติ) 
          2.  หลักสติปัฏฐาน 4  และ Tantric Buddhism
          3.  คำสอนของวิปัสสนาจารย์  ท่าน Sathya Narayan Goenka
          4.  หลักคำสอนของ  Parthasarathi Rajagopalachari,  J. Krishnamurti
          5.  หลักการทำสมาธิแบบ  Sahaj Marg Meditation, Raja Yoga
          6.  John Ruskan’s Emotional Clearing, Cognitive Therapy, Rational 
               Emotive  Behavior Therapy, Transpersonal Psychotherapy

           เมื่อได้นำมาศึกษา วิเคราะห์ ปฏิบัติ และประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยในคลินิกสมาธิบำบัด ของภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 ผู้ที่เข้ารับการฝึกครบหลักสูตร (8 ครั้ง) พบว่ามีสภาพจิตใจที่มีความสุขสงบมากขึ้น มีความรักความเข้าใจตนเองและผู้อื่น สามารถนำหลักปฏิบัติไปใช้ในชีวิตประจำวันจนทำให้ความเครียดลดน้อยลงตามลำดับ และมีบางคนที่สนใจขอกลับมาฝึกซ้ำ  ชวนบุคคลในครอบครัวมาฝึก หรือนำหลักการไปสอนให้กับผู้อื่นด้วย

          ขั้นตอนของการพัฒนาจิตตามโปรแกรมนี้ ประกอบด้วยหลักการและการปฏิบัติ 8 ขั้นตอน คือ


          1. การฝึกสมาธิลมหายใจขั้นตอนที่ 1 : การกำหนดรู้ลมหายใจ
          2. การฝึกสมาธิลมหายใจขั้นตอนที่ 2 : การเฝ้าดูลมหายใจ
          3. การเฝ้าดูความรู้สึกของร่างกาย
          4. การระลึกรู้อารมณ์ / การยอมรับอารมณ์
          5. การเฝ้าดูอารมณ์และความรู้สึกทางร่างกาย
          6. การเฝ้าดูความคิด และเงื่อนไขความคิด
          7. การยอมรับตนเองอย่างสมบูรณ์
          8. การพัฒนาจิตสำนึกแห่งความรัก/ ความเข้าใจ


รายละเอียดที่ : http://anamcarashc.blogspot.com/search/label/โปรแกรมสมาธิบำบัด