ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ภาณุภพ
« เมื่อ: กันยายน 15, 2013, 08:19:17 pm »

เห็นด้วยครับ :05:
ข้อความโดย: จิรัญญา
« เมื่อ: พฤษภาคม 26, 2013, 07:45:35 pm »

 
การที่คนเราจะไม่มืความทุกข์ หรือพ้นจากความทุกข์ และมีความสุขที่แท้จริงได้นั้น
จะต้องมีความรู้ว่า
จิตมื 2 อย่างคือ
1.จิตที่แท้จริง หรือ จิตเดิมแท้ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า จิตบริสุทธิ์
2. จิตปรุงแต่ง หรือ จิตปัจจุบัน
อธิบายความหมายของข้อ1.
จิตที่แท้จริง หรือจิตเดิมแท้ หรือจิตบริสุทธิ์
เป็นจิตที่ปราศจากการปรุงแต่ง เกิดขึ้นเอง ไม่ต้องสร้างขึ้นมา มีลักษณะ
ตัวเราเองไม่อยากมีความทุกข์
มนุษย์ทุกคนไม่อยากมีความทุกข์
ตัวเราเองอยากมีความสุขที่แท้จริง
มนุษย์ทุกคนอยากมีความสุขที่แท้จริง
ตัวเราเองไม่อยากสร้างปัญหาให้แก่ชีวิตเลย
มนุษย์ทุกคนไม่อยากสร้างปัญหาให้แก่ชีวิตเลย
ตัวเราเองมีความตั้งใจจะให้ดีอยากจะทำให้ดี
มนุษย์ทุกคนมีความตั้งใจจะให้ดีอยากจะทำให้ดี
อธิบายความหมายของข้อ2.
จิตปรุงแต่ง หรือจิตปัจจุบัน
เป็นจิตที่เกิดขึ้นมาทีหลัง
เกิดจากการเรียนรู้และประสบการณ์
สามารถเปลื่ยนแปลงได้
ถ้าการเรียนรู้และประสบการณ์ไม่ตรงกับลักษณะของจิตที่แท้จริง
จะทำให้มีความทุกข์
ถ้าการเรียนรู้และประสบการณ์ตรงกับลักษณะของจิตที่แท้จริง
จะทำให้มีความสุขที่แท้จริง
สรุปลักษณะของจิตที่แท้จริง
ตัวเราเอง และ มนุษย์ทุกคน
ไม่อยากมีความทุกข์
อยากมีความสุขที่แท้จริง
ไม่อยากสร้างปัญหาให้แก่ชีวิตเลย
มีความตั้งใจจะให้ดี อยากจะทำให้ดี
ดังนั้น จิตที่แท้จริงหรือจิตเดิมแท้้
ของตัวเราเอง และมนุษย์ทุกคน
จึงเป็นจิตที่ ใส สะอาด บริสุทธิ์ สวยงาม ดีงาม และงดงาม
ดังนั้นจึง ขอบคุณ ให้เกียรติ ยกย่อง ชื่นชม
ให้ความออ่อนโยนนุ่มนวล ทะนุถนอม ระวังมิให้บอบช้ำ
ไม่ทำให้ตัวเราเอง และ มนุษย์ทุกคน เสียใจ แม้เป็นเพียง การล้อเล่น
เมื่อเรารู้ความจริงเช่นนี้ก็จะทำให้เรามีความสุขที่แท้จริง
ข้อความโดย: จิรัญญา
« เมื่อ: พฤษภาคม 26, 2013, 09:57:44 am »

ตัวเราเองไม่อยากมีความทุกข์
มนุษย์ทุกคนก็ไม่อยากมีความทุกข์เหมือนกัน
 
ตัวเราเองอยากมีความสุข
มนุษย์ทุกคนก็อยากมีความสุขเหมือนกัน
 
พระพุทธเจ้าตรัสว่า นิพพาน คือ
ความสงบเย็น เป็นสุขอย่างยิ่ง
 
ดังนั้น จุดมุ่งหมายของทั้งทางโลก
และ ทางธรรมจึงมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน
 
คือ ต้องการพ้นทุกข์และมีความสุขที่แท้จริงนั่นเอง
ข้อความโดย: จิรัญญา
« เมื่อ: พฤษภาคม 25, 2013, 01:46:30 am »

         :13:    ความสุขที่แท้จริง คือ ความไม่คับแค้น  ไม่ขัดข้องใจ  ความโปร่ง  โล่ง  เบา  สบาย  ความสงบ  เย็นใจ  ความผ่อนคลายใจ  ความเบิกบานใจ  ความแจ่มใส   สดชื่น     :13: