ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: theostyley
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2016, 02:39:11 pm »

มีเเต่ปนระโยชน์ทั้งนั้นเลยนะครับที่อ่านมา คือสิ่งที่ดีมากเลยจริงๆ
ข้อความโดย: Vorraveeyy
« เมื่อ: ธันวาคม 01, 2014, 11:45:15 am »

เอาสาระดีๆ แบบนี้มาให้อ่านอีกเยอะๆ นะครับ
ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: กรกฎาคม 08, 2012, 09:04:27 am »

พระอโมฆสิทธิพุทธเจ้า

คอลัมน์ คติ-สัญลักษณ์สถาปัตยกรรมไทย
ชวพงศ์ ชำนิประศาสน์
-http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROb1lYQXdOVEE0TURjMU5RPT0=&sectionid=TURNeE53PT0=&day=TWpBeE1pMHdOeTB3T0E9PQ==-





ในความเชื่อของฝ่ายมหายาน ที่กล่าวว่าในมหาจักรวาลอันแผ่ไพศาลออกไปจนหาที่สุดมิได้นั้น ประกอบด้วยพุทธเกษตร (หรือเรียกอีกความหมายก็คือ พุทธมณฑล) จำนวนมากมายมหาศาล ในพุทธเกษตรเหล่านั้นก็จะมีพระพุทธเจ้าประจำพุทธเกษตร



ในพุทธเกษตรที่สำคัญ 5 พุทธเกษตร ซึ่งได้บรรยายไว้ว่า พระพุทธเจ้าองค์สำคัญคือ พระไวโรจนะพุทธไปแล้ว ในพุทธเกษตรสำคัญองค์ต่อมาก็คือ พระอโมฆสิทธิพุทธเจ้า

พระอโมฆสิทธิพุทธเจ้าเป็นพระธยานิพุทธสำคัญหนึ่งในห้าของความเชื่อเรื่องพระพุทธเจ้าของฝ่ายมหายาน ประจำอยู่ในพุทธเกษตรทางทิศเหนือ ในคำอธิบายของมหายานกล่าวว่าพระธยานิพุทธนั้นมีกายอันเป็นทิพย์ที่พระโพธิสัตว์เท่านั้นที่จะได้เห็นและได้รับฟังคำเทศนาสั่งสอน



รูปภาพรูปปั้นของพระอโมฆสิทธิพุทธะที่พบเห็นกันนั้น เป็นการแสดงลักษณะทางกายภาพทางพุทธศิลป์ เพื่อให้พุทธศาสนิกชนเข้าใจในคติธรรม ซึ่งในทางกายภาพที่ได้แสดงไว้ก็คือ เป็นพระพุทธรูปปางอภัย หรือปางนั่งสมาธิ มีสัญลักษณ์คือวัชระไขว้ (ความหมายของวัชระก็คืออาวุธ (หรือปัญญา) ที่มีความคมสูงสุด) สามารถตัดอวิชชาให้ขาดได้ มีกายสีเขียว ซึ่งสัญลักษณ์ของการกระทำอันสมบูรณ์ คือการกระทำที่ปราศจากกิเลส และพ้นจากกิเลส การบรรลุความสำเร็จนี้ตามธรรมชาติ



อย่างไรก็ตาม อย่าเข้าใจปนกันระหว่างพระพุทธเจ้า 2 พระองค์ คือ พระกกุสันโธพุทธเจ้า กับ พระอโมฆสิทธิพุทธเจ้า เพราะเห็นว่าเป็นพระพุทธเจ้าที่ประจำอยู่ทางทิศเหนือ พระกกุสันโธนั้นเป็นอดีตพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาทที่มีแนวคิดแนวปฏิบัติโดยวิธีการที่พิจารณาถึงสัจจะหรือความจริงที่จะทำให้พ้นจากวัฏสังสาร ส่วนพระอโมฆสิทธิของฝ่ายมหายาน ซึ่งเป็นพุทธเจ้าที่มีพร้อมกับสรรพสิ่งทั้งปวงนั้น



คติธรรมก็คือแนวทางการใช้สติปัญญาพิจารณาในเรื่องของกรรม

.