ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: Durbintans
« เมื่อ: สิงหาคม 31, 2015, 04:19:35 pm »

อันนี้ผมยังไม่ค่อยเข้าใจ งง อยู่หน่อยๆ
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: สิงหาคม 03, 2015, 05:43:51 pm »

" ว่าด้วยผู้มีอุปการะมาก ๓ จำพวก "

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคล (อาจารย์) ๓ นี้
เป็นผู้มีอุปการะมากแก่บุคคล (ศิษย์)
บุคคล (อาจารย์) ๓ นี้คือใคร

คือ บุคคล (ศิษย์) อาศัยบุคคล (อาจารย์) ใด
จึงได้ถึงพระพุทธเจ้า ... พระธรรม ...พระสงฆ์
เป็นสรณะ บุคคล (อาจารย์) นี้
เป็นผู้มีอุปการะมากแก่บุคคล(ศิษย์) นี้

อนึ่งอีก ภิกษุทั้งหลาย บุคคล (ศิษย์)
อาศัยบุคคล (อาจารย์) ใดจึงรู้ตามจริงว่า
นี่ทุกข์ ... นี่เหตุเกิดทุกข์ ... นี่ความดับทุกข์ ...
นี่ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์
บุคคล (อาจารย์) นี่
เป็นผู้มีอุปการะมากแก่บุคคล(ศิษย์) นี้

อนึ่งอีก ภิกษุทั้งหลาย บุคคล (ศิษย์)
อาศัยบุคคล (อาจารย์) ใด
จึงกระทำให้แจ้งเข้าถึงพร้อมซึ่งเจโตวิมุตติ
ปัญญาวิมุตติอันหาอาสวะมิได้ เพราะ
สิ้นอาสวะทั้งหลาย ด้วยความรู้ยิ่งด้วยตนเอง
อยู่ในปัจจุบันนี่ บุคคล (อาจารย์)
นี่เป็นผู้มีอุปการะมากแก่บุคคล (ศิษย์) นี้

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวว่าบุคคลอื่น
จะมีอุปการะมากแก่บุคคล (ศิษย์) นี้
ยิ่งกว่าบุคคล ๓ นี่ไม่มี

อนึ่ง เรากล่าวว่า บุคคล (ศิษย์) นี้
จะทำการสนองคุณแก่บุคคล (อาจารย์) ๓ นี้
ไม่ได้ง่ายเลย แต่เพียงด้วยการ กราบ ลุกรับ
ทำอัญชลี สามีจิกรรม และคอยให้จีวร
บิณฑบาต เสนาสนะและยาแก้ไข้.

พหุการสูตร (เล่ม ๓๔ หน้า ๗๘)
..
..
อรรถกถาพหุการสูตร
บทว่า ตโยเม ภิกฺขเว ปุคฺคลา
ได้แก่บุคคลผู้เป็นอาจารย์ ๓ จำพวก.

บทว่า ปุคฺคลสฺส พพุการา ได้แก่
ผู้มีอุปการะมากแก่คนผู้เป็นอันเตวาสิก

บทว่า พุทฺธ ได้แก่ พระสัพพัญญูพุทธเจ้า.

บทว่า สรณคโต โหติ ความว่า
ถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่พึ่ง.

บทว่า ธมฺม ได้แก่ นวโลกุตรธรรม
พร้อมทั้งแบบแผน (พระปริยัติธรรม).

บทว่า สฆ ได้แก่ ชุมนุมพระอริยบุคคล ๘ จำพวก.

ก็การถึงสรณะนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้
ด้วยสามารถแห่งบุคคลผู้ไม่เคยถึงสรณะ
คือผู้ไม่เคยทำความเชื่อมั่น.

เป็นอันว่า อาจารย์ ๓ จำพวก คือ
ผู้ให้สรณะ ๑. ผู้ให้ถึงโสดาปัตติมรรค ๑.
ผู้ให้ถึงพระอรหัตมรรค ๑.
มาแล้วในพระสูตรนี้ ว่ามีอุปการะมาก.

สาวก ภูมิ https://www.facebook.com/profile.php?id=100004721327843