ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แปดคิว
« เมื่อ: สิงหาคม 12, 2010, 08:12:36 pm »

ทันใจจริงๆ :07: :46: :45:
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: สิงหาคม 12, 2010, 07:01:32 am »

 พระพยอมท่านสอนได้ใจดีครับ ง่ายๆชาวบ้านๆ
:13: อนุโมทนาสาธุครับ ขอบคุณครับพี่กบ
ข้อความโดย: แก้มโขทัย
« เมื่อ: สิงหาคม 12, 2010, 05:58:36 am »




ประวัติพระพยอม
พระราชธรรมนิเทศ (พระพยอม  กลฺยาโณ)
นามเดิม พยอม จั่นเพชร
เกิดวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2492 ปีฉลู
บิดา นายเปล่ง จั่นเพชร
มารดา นางสำเภา จั่นเพชร
ภูมิลำเนา อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี

บรรพชา
เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ.2502 และอุปสมบท เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ.2513 ณ วันสังวรณ์วิมลไพบูลย์ อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี โดยมีพระครูนนทประภากร เจ้าคณะอำเภอบางใหญ่ เจ้าอาวาสวัดพิกุลเงิน เป็นพระอุปัชฌาย์

การศึกษา
พ.ศ. 2500 เข้ารับการศึกษา ที่โรงเรียนสังวรพิมลไพบูลย์
พ.ศ. 2513 อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ที่วัดสังวรพิมลไพบูลย์
พ.ศ. 2514 จบนักธรรมตรี ที่วัดอัมพวัน จังหวัดนนทบุรี
พ.ศ. 2515 จบนักธรรมโท ที่วัดบางอ้อยช้าง จังหวัดนนทบุรี
พ.ศ. 2516 จบนักธรรมเอกที่วัดบางอ้อยช้าง จังหวัด นนทบุรี
พ.ศ. 2517 เข้าศึกษาปฏิบัติธรรมที่สวนโมกข์ จังหวัด สุราษฎร์ธานี

ได้รับปริญญามหาบัณฑิตและดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาต่างๆ ดังต่อไปนี้
พ.ศ. 2537 ปริญญามหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาพุทธศาสน์) จากสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. 2537 ปริญญามหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาพัฒนาสังคม) จากสาถบันบัณฑิตพัณนบริหารศาสตร์ (นิด้า)
พ.ศ. 2541 ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาศึกษาศาสตร์เพื่อพัฒนาชุมชน) จากสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
พ.ศ. 2541 นิเทศศาสตร์ดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
พ.ศ. 2546 พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาธรรมนิเทศ) จากสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ได้รับพระราชทานสมศักดิ์ ดังนี้
พ.ศ.2538 ได้พระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระพิศาลธรรมพาที
พ.ศ.2547 ได้พระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระราชธรรมนิเทศ