ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: tamma.th
« เมื่อ: ธันวาคม 10, 2015, 03:20:18 pm »

บรรพบุรุษไทยผู้มีชื่อเสียงที่คนไทยรู้จักกันดีและเทิดทูนนั้นมีมากหลาย แต่ละท่านก็ดีไปคนละด้าน แต่สำหรับผู้ที่ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ยอมสละแม้กระทั่งชีวิตของตนเพื่อรักษาหน้าที่และกฎระเบียบไว้ คงไม่มีใครเกินพันท้ายนรสิงห์
      ประวัติกล่าวว่า คราวหนึ่ง พันท้ายนรสิงห์ทำหน้าที่ถือท้ายเรือพระที่นั่งสมเด็จพระเจ้าเสือเพื่อเสด็จประพาสทรงเบ็ด ณ ปากน้ำเมืองสาครบุรี ครั้นเรือพระที่นั่งถึงตำบลโคกขาม คลองที่นั่นคดเคี้ยวมาก พันท้ายนรสิงห์คัดท้ายเรือไม่ทัน โขนเรือจึงไปชนกิ่งไม้ใหญ่เข้าเต็มแรงจนหักตกลงน้ำ พันท้ายนรสิงห์จึงกระโดดขึ้นฝั่ง และกราบทูลขอพระราชทานอาญาเพื่อให้ตัดศีรษะตนเองตามกฎมณเฑียรบาล แม้สมเด็จพระเจ้าเสือจะพระราชทานอภัยโทษให้ถึงสองครั้ง พันท้ายนรสิงห์ก็ไม่ยอม ทูลขอให้ลงพระอาญาถึงครั้งที่สาม ในที่สุด พระองค์จำต้องให้ตัดศีรษะด้วยความอาลัยเป็นอย่างยิ่ง แล้วโปรดให้สร้างศาลขึ้น ดังปรากฏอยู่ที่บ้านพันท้ายนรสิงห์ ตำบลพันท้ายนรสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ในปัจจุบัน
      เรื่องนี้ชวนให้คิดว่า ทำไมคนบางคนเมื่อทำผิดก็ยังยืนยันจะรับโทษถึงตายทั้งที่มีโอกาสจะพ้นผิดได้ ยิ่งเหตุการณ์นั้นเป็นเรื่องจริง มีตัวตนอยู่จริง ๆ ไม่ใช่นิยาย หรือเป็นแค่อุดมคติเลื่อนลอย ก็ยิ่งทำให้น่าคิด ถ้าฟังแล้วพยายามอ่านเข้าไปในความคิดของเขา บางทีก็จะช่วยให้ได้แง่คิดดี ๆ และเหตุผลที่กว้างขวางออกไป ไม่จมอยู่แค่ความคิดและความต้องการของตัวเอง ซึ่งทำให้เกิดประโยชน์แก่ชีวิตได้ เพราะเรื่องดี ๆ ทั้งหลาย ย่อมเกิดมาจากความคิดที่ดี ๆ นี่แหละ ... ธรรมะสอนใจทั้งหมด เชิญที่ ธรรมะสอนใจ