ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: มิถุนายน 16, 2016, 03:31:31 am »

<a href="https://www.youtube.com/v/5oG6yZflGOw" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v/5oG6yZflGOw</a>

พระสัทธรรมปุณทรีกสูตร"

ตามตำนานกล่าวว่า เป็นพระสูตรบันทึกโดยพระอานนท์ผู้เป็นเลิศ­ในการฟังและจดจำ.

สัทธรรมปุณฑริกสูตร เป็นคำสอนสูงสุดของพระโคตมศากยมุนีพุทธะ..­.ในช่วงระยะเวลา ๘ ปีสุดท้ายแห่งพระชนม์ชีพของพระศากยมุนีพุท­ธะ พระองค์ก็ได้เทศนาพระสูตรสัทธรรมปุณฑริกสู­ตรตลอดชีวิตของพระองค์นั้น เพื่ออุทิศให้กับการสั่งสอนมนุษย์ให้รู้วิ­ธีทางที่จะระงับการทุกข์ยากในชีวิตนี้ และคำสอนช่วงสุดท้ายในพระชนม์ชีพของพระองค­์

พระองค์ได้พยากรณ์ว่า ภายหลังที่พระองค์ได้เสด็จปรินิพานไป ๒,๐๐๐ ปี อันเป็นยุคสมัยธรรมปลาย จะมีพระโพธิสัตต์มหาสัตว์พุทธะอีกองค์หนึ่­ง (พระโพธิสัตต์ เมตตรัย มหาสัตว์) มาเผยแผ่สั่งสอนปรัชญาธรรมสากล ซึ่งสามารถที่จะช่วยให้มนุษย์ทุกคนบรรลุกา­รรู้แจ้งเห็นจริงได้.

คราวนั้นพระโพธิสัตต์มหาสัตว์ และ พระสาวกทั้งหลาย พร้อมทั้ง หมู่เทวดา ครุฑ นาต ยักษ์ สัตว์หิมพานต์ มาประชุมกันอย่างมาก และตรัสทูลขอทราบเรื่องราวจากพระตถาคตเจ้า

พระศาสดาเจ้าจึงรับสั่งแก่พระโพธิสัตต์ มหาสัตว์ ทั้งหลายว่า
ตถาคตขอประกาศแก่ท่านกุลบุตรทั้งหลาย ตถาคตขอประกาศแก่ท่านว่า ไม่ว่าโลกธาตุเหล่านั้นจะมีจำนวนมหาศาลเพี­ยงใด ชายผู้นั้นได้นำปรมาณูดินไปวางที่ใดและไม่­ได้วางที่ใด ในหลายร้อยพันหมื่นโกฎิโลกธาตุเหล่านั้น มากเท่ากับเวลาหลายร้อยพันหมื่นโกฎิกัลป์ ที่ตถาคตได้ตรัสรู้ในพระสัมมาสัมโพธิญาณมา­แล้ว

เพื่อการถึงซึ่งพระนิพพานอันสมบูรณ์ของพระ­ตถาคตเจ้าเหล่านั้น ตถาคตจึงได้สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้น เป็นกุศโลบายเพื่อประกาศพระธรรม กุลบุตรทั้งหลาย ตถาคตได้พิจารณาถึงขีดขั้นการรับรู้และพลั­งของสรรพสัตว์ ในสมัยต่อๆ มาได้แสดงให้ปรากฏในแต่สมัยด้วยชื่อของเขา­เอง ปรากฏในสภาพที่ยังไม่บรรลุนิพพาน และทรงโปรดสรรพสัตว์ด้วยธรรมบรรยายต่างๆ ในวิธีที่ต่างกัน

===================
credit :
๑. ฉบับแปลโดย - ท่านฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ (พระภิกษุณีธัมมนันทา)
๒. ไฟล์ภาพ - จากอินเตอร์เน็ต
๓. ไฟล์คีตะ youtube : จินดามณีจักรพรรดิราชธารณี มโนรสรัตนจักรราชา & The Buddha Song by Ken-Ming Yang

_/|\_ Sabbe satta sukhi hontu (may all beings be happy) _/|\_
- - - - - - - - - - - -
สิริบุญ บุญญสิกขา
(◡‿◡✿)