ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: สิงหาคม 14, 2010, 07:13:58 pm »

อนาคตน่าจะมีเชื้อโรคใหม่ๆมาอีกแน่ๆ

ต้องระวังสุขภาพไว้ให้มากๆ

กินของร้อน ใช้ช้อนกลาง  ล้างมือก่อนทาน 

.
ข้อความโดย: กระตุกหางแมว
« เมื่อ: สิงหาคม 14, 2010, 05:15:10 pm »

เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมโลกแย่ลงเปล่าครับ
รู้สึกเชื้อดื้อยาเยอะมากตอนนี้.. :16:
ขอบคุณครับพี่หนุ่ม...
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: สิงหาคม 13, 2010, 11:06:48 pm »

 :27: น่ากลัวจังเลยครับ ขอบคุณครับพี่หนุ่ม
ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: สิงหาคม 13, 2010, 01:56:35 pm »

นักวิจัยพบแบคทีเรียดื้อยาใหม่ ในเอเชียใต้


นักวิจัยพบแบคทีเรียดื้อยาใหม่ ในเอเชียใต้ (ที่มา ไอเอ็นเอ็น)

นัก วิจัยในอังกฤษเตือนว่า เชื้อแบคทีเรียดื้อยาตัวใหม่ที่ยังไม่มียาขนานใดสามารถรักษาได้ อาจแพร่กระจายทั่วโลก หลังพบว่าเชื้อระบาดจากอินเดียมาถึงอังกฤษแล้ว ส่วนหนึ่งเป็นผลจากธุรกิจท่องเที่ยวเชิงรักษาพยาบาล

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยคาร์ดิฟฟ์เผยว่า พบยีนใหม่เรียกว่า นิวเดลี เมตัลโล เบตา แลกตาเมส หรือ เอ็นดีเอ็ม 1 ในผู้ป่วยในบังกลาเทศ อินเดีย ปากีสถาน และผู้ป่วยในอังกฤษที่กลับจากการรักษาตัวในประเทศเหล่านั้น ยีนส์ตัวนี้ทำให้เชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะเกือบทั้งหมด แม้แต่ยาในกลุ่มคาร์บาพีเนมส์ที่ว่าทรงประสิทธิภาพที่สุด นักวิจัยวิตกว่า เชื้อแบคทีเรียดื้อยาตัวนี้จะแพร่กระจายทั่วโลกอย่างรวดเร็ว เพราะผู้คนนิยมเดินทางไปต่างประเทศเพื่อหาสถานที่รักษาพยาบาลราคาถูกกันมาก ขึ้น โดยเฉพาะการศัลยกรรมเสริมความงาม และขณะนี้ยังไม่มียาขนานใดรักษาได้

ทั้งนี้ นับตั้งแต่มีการใช้ยาเพนนิซิลิน ซึ่งเป็นยาปฏิชีวนะขนานแรก ในคริสต์ทศวรรษหลังปี 1940 เชื้อแบคทีเรียก็เริ่มพัฒนาตัวให้ดื้อยา จึงต้องพัฒนายาปฏิชีวนะรุ่นใหม่ ๆ แต่การใช้ยามากเกินไปและใช้อย่างไม่ถูกต้องเป็นเหตุให้เกิดเชื้อดื้อยาที่ ไม่มียารักษาได้ เช่น เชื้อเอ็มอาร์เอสเอ

ที่มา เอ็นดีเอ็ม 1 NDM 1 เชื้อแบคทีเรียดื้อยา ตัวใหม่ในเอเชียใต้
http://health.kapook.com/view15748.html


.



.



.



.