ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: มิถุนายน 28, 2016, 12:12:13 pm »

<a href="https://www.youtube.com/v/aKUdKAo-VTs" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v/aKUdKAo-VTs</a>

ธรรมบรรยาย โดย พระอาจารย์อมโร ภิกขุ เจ้าอาวาสวัดอมราวดี ประเทศอังกฤษ Amaravati Buddhist Monastery

พระพุทธเจ้าว่า อภินิหารมี 2 รูปแบบ คือ

1) อภินิหารทั่วไป เช่น เหาะเหินเดินอากาศ ดูนรกสวรรค์ อ่านใจผู้คน
2) อภินิหารจากการสอน การเข้าใจในคำสอนของพระพุทธองค์

ครั้งหนึ่งพระอานนท์ได้เล่าให้เหล่าคณะสงฆ์ฟัง ถึงอภินิหารของพระโพธิสัตว์เจ้าชายสิทธัตถะยามประสูติ เมื่อพระพุทธองค์ทรงมา จึงตรัสถามว่า “อยากได้ยินคุณลักษณะอันประเสริฐของพระพุทธองค์อีกไหม” เหล่าพระสงฆ์ตอบว่า อยาก

พระพุทธองค์จึงตรัสว่า

“คถาคตสามารถรู้ว่า อารมณ์ใดเกิด อารมณ์ใดเกาะเกี่ยวจิตใจ

และเมื่ออารมณ์ใดจืดจางไป คถาคตก็รับรู้ว่า อารมณ์นั้นจืดจางไป

ความคิดความรู้สึกก็เช่นกัน เกิดขึ้น เกาะเกี่ยวในจิตใจ และก็จางหายไป

อานนท์ นี่เป็นคุณลักษณะอันประเสริฐของคถาคต”

“ความอัศจรรย์นั้นไม่ได้มาจากการที่เทวดาโอบอุ้มยามคถาคตมาเกิด หรือพูดได้ เดินได้ยามประสูติ อัศจรรย์ที่แท้คือ การที่เราสามารถดูจิตของเราเองได้”

เมื่อเราโดนแซงคิวในร้านสะดวกซื้อ เราเห็นอารมณ์โกรธ นั่นคือ “การได้ดูอารมณ์แต่ไม่ถลำตามอารมณ์ นั่นแหล่ะ คืออภินิหารที่แท้จริง”

เมื่อเห็นอารมณ์เกิดขึ้นตามจริง แบบเป็นกลาง โดยไม่กดอารมณ์หรือดึงกลับมา เราก็จะเกิดสติปัญญาตามมาว่า ทุกสิ่งล้วนเกิดขึ้นดับไป และสติปัญญาจะทำให้รู้ว่า เราต้องทำอะไร

แม้แต่พระโสดาบันก็ยังมีอารมณ์โกรธ ยังมีความต้องการ แสดงสิ่งที่ไม่ดี และอาจจะเกิดความรู้สึกโกรธ เวลามีใครแซงคิว

แต่พระโสดาบันจะต่างจากปุถุชนธรรมดาที่ว่า จะสามารถแยกแยะได้ว่า นั่นคืออารมณ์โกรธ และจะไม่ถลำลึกตามอารมณ์โกรธนั้น และปัญญาที่พัฒนาต่อมาจากการมีสติ ณ ขณะนั้น ก็จะทำให้เกิดความเมตตาต่อหญิงที่แซงคิวนั้น

หากฝึกจิตให้มีสติ มองตามอารมณ์แต่ไม่ถลำตามอารมณ์แบบนี้ไปเรื่อย ๆ เราจะพบว่า มีพื้นที่มากมายในโลกนี้ และจะเห็นว่า มีอารมณ์โน่นนี่ เกิดขึ้นมากมาย แต่กระนั้น เราก็แค่ดู แค่เห็น ปล่อยให้ผ่านไป และจะพบว่า ไม่ว่าจะอยู่ท่ามกลางสถานการณ์ใด ๆ ใจเราก็มีความสุข

© ทรูปลูกปัญญา