ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: พฤศจิกายน 23, 2016, 06:36:50 am »




มาฟังเสียงสวด พระคาถาชินบัญชร ตามทำนองและเสียงของ ท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิต

<a href="https://www.youtube.com/v/wb6EecRJi_g" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v/wb6EecRJi_g</a>

ท่าน ธมฺมวิตกฺโก ภิกขุ" หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า " เจ้าคุณนรฯ" หรือพระยานรรัตนราชมานิต

พระ ยานรรัตนราชมานิต มีนามเดิมว่า ตรึก จินตยานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2440 ที่บ้านใกล้วัดโสมนัสวรวิหาร กรุงเทพฯ เป็นบุตรของพระนรราชภักดี (ตรอง จินตยานนท์ ) และนางนรราชภักดี ( พุก จินตยานนท์) ศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนวัดโสมนัสฯ ชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนวัดเบญจมบพิตร ชั้นอุดมศึกษาที่โรงเรียนข้าราชการพลเรือนหอวัง (ต่อมาได้ยกฐานะเป็นจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ) ได้รับประกาศนียบัตรในวิชารัฐศาสตร์ เมื่อจบการศึกษาแล้ว ได้เข้าซ้อมรบเสือป่าที่ค่ายหลวง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงทอดพระเนตรและพอพระราชหฤทัยจึงโปรดเกล้าฯ รับสั่งชวนให้เข้ารับราชการในราชสำนักนับแต่นั้นเป็นต้นมา ท่านได้เข้ารับราชการเริ่มแรกในกรมมหาดเล็กหลวง แผนกตั้งเครื่อง ตำแหน่งมหาดเล็กวิเศษ เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 และในระยะเวลาเพียง 9 ปี ท่านก็ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯให้เป็นเจ้ากรมห้องพระบรรทม มีบรรดาศักดิ์เป็น พระยานรรัตนราชมานิต เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2465 ขณะที่มีอายุ 25 ปี และได้เป็นองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 เมื่อวันที่ 1 กรกฏาคม พ.ศ. 2467

ท่านได้สละทุกสิ่งทุกอย่างออกอุปสมบท เพื่ออุทิศพระราชกุศลถวาย แด่สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพ เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2468 ณ วัดเทพศิรินทราวาส โดยมีสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถระ) เป็นพระอุปัชฌาชย์ ได้รับฉายาทางสมณเพศว่า "ธมฺมวิตกฺโก ภิกขุ" และท่านก็ได้ครองสมเพศตลอดมาจนถึงมรณภาพ

จาก http://panyayan.tnews.co.th/contents/202958/