ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: มกราคม 08, 2018, 10:06:00 pm »







http://youtu.be/pWEOzOBFXck




ศาสนาก็คือศิลปะ ความดี ความงาม ความจริงในที่สุดนี้อยากจะพูดชั่วเวลาที่เหลืออยู่นี้ว่า เราจะต้องมีชีวิตของเรานี้เป็นตัวเดียวกันกับธรรมะ โดยไม่ต้องมีการพูดหรือมีการอะไร ชีวิตก็ดี การงานก็ดีศาสนาก็ดี ศิลปะก็ดี หรืออะไรก็ดี ให้หลอมเข้าเป็นสิ่งเดียวกันเป็นธรรมะ ให้ชีวิตนั้นมันเป็นอยู่ด้วยธรรมะ ให้การงานนั้นเป็นการงานอยู่ด้วยธรรมะ ให้ศาสนาคือการประพฤติ ปฏิบัติกาย วาจา ใจ ตามระเบียบศาสนานั้น อย่าเป็นเปลือกของธรรมะ ให้เป็นธรรมะจริง ๆ

อนึ่ง....สิ่งที่เรียกว่าศิลป์ ที่เรานิยมกันนักว่าศิลปะ ศิลปินอย่างนี้ ให้มันเป็นศิลป์อยู่ตรงที่ การทำที่ฉลาดที่สุด น่าดูงดงามที่สุด ตรงที่สามารถทำชิวิตนี้ไม่ให้เป็นทุกข์เลย ให้มันงามอยู่ตรงที่ไม่มีความเศร้าหมอง หม่นหมอง เร่าร้อนเลยนั่นแหละคือความงามอย่างยิ่ง เมื่อรู้จักทำอย่างนี้ก็เป็นศิลป์หรือศิลปินอย่างยิ่ง เป็นศิลป์ศิลปินของชีวิต เพราะฉะนั้นศาสนาก็คือศิลปะ พุทธศาสนาแท้ ๆ ก็คือศิลปะ เพราะว่าเป็นอุบายอันหนึ่งที่ทำให้ชีวิตนี้งามอย่างยิ่ง มีปรากฎ

การณ์ออกมาเป็นความงามอย่างยิ่ง ไม่มีอะไรงามเสมอเหมือน แล้วประณีตละเอียดเป็นงานฝีมืออย่างยี่ง ในการที่จะทำอย่างนั้นได้ คือการเดินไปตามทางสายกลางดังที่ได้อธิบายแล้วแต่วันก่อน ๆ นั้น นั่นแหละคือศิลปะอย่างยิ่ง ถ้าให้ระบุก็คืออริยมรรคมีองค์แปดประการ นั่นแหละคือศิลปะสูงสุดของทั้งหมดของมนุษย์ หรือของสิ่งที่มนุษย์จะรู้จักได้ ศาสนาก็คือศิลปะ เพราะฉะนั้นการงานของเราเมื่อเนื่องอยู่ด้วยศาสนา ด้วยธรรมะแล้วมันก็เป็นการงานศิลป์ ชีวิตก็เป็นชีวิตศิลป์ มองดูในแง่ชีวิตก็เป็นชีวิต มองดูในแง่การงานก็เป็นการงาน มองดูในแง่ศาสนาก็เป็นศาสนา มองดูใน

แง่ศิลป์ก็เป็นศิลป์ ทีนี้มันมากนัก หลอมเป็นสิ่งเดียวกันเสียดีกว่า เป็นธรรมะ ธรรมะ ธรรมะ คำเดียวพอนี่เราจงมีอะไรเป็นของตัวเราเองอย่างนี้เราจะได้เอาตัวรอดได้ เราอย่าไปเดินตามฝรั่งไปเสียตะพึด เพราะว่ามันไม่เหมือนกัน และกล่าวได้ว่าฝรั่งยังไม่รู้ธรรมะที่จะดับทุกข์ได้ดีไปกว่าเรา เพราะฉะนั้นเราอย่ายกเขาเป็นผู้นำทางวิญญาณของเรา เราดูเขาแต่ที่จะใช้แก้ปัญหาในทางวัตถุและเท่าที่จำเป็นเท่านั้น ส่วนใหญ่ใจความเราจะต้องใช้ของเราเอง ถ้าเราไปหลงวัฒนธรรมตะวันตกทุกแขนงทุกอย่างนั้น ก็คือกระโดดลงเหวที่มืดที่สุด และไกลจากธรรมะยิ่งขึ้นไปทุกที มันคนละอย่างคนละแบบ


พุทธทาสภิกขุ ธรรมโฆษณ์ ชุดธรรมบรรรยายระดับมหาวิทยาลัย น.278