ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: กรกฎาคม 28, 2018, 08:25:38 pm »










พระนิชิเร็น ไดโชนินกล่าวในบทธรรมนิพนธ์ คำถามและคำตอบว่าด้วยการนับถือสัทธรรมปุณฑริกสูตร ดังต่อไปนี้ถึงแม้ว่าท่านยกย่องผู้ที่มีความสามารถมาก จงอย่าดูถูกตัวท่านเอง จุดมุ่งหมายแท้จริง[ของพระพุทธะ]คือไม่ทอดทิ้งแม้แต่ผู้ที่มีความสามารถต่ำ ถึงแม้ว่าท่านพบผู้ที่มีความสามารถด้อยกว่า [จงอย่าทะนงตัว] มีหลายครั้งที่แม้แต่คนที่มีความสามารถเหนือกว่าไม่สามารถบรรลุการรู้แจ้งเนื่องจากพวกเขาไม่ทุ่มเทอย่างเต็มที่ ชินเพ็น หน้า 298

ข้อความนี้หมายความว่าพวกเราต้องไม่เปรียบเทียบตนเองกับผู้อื่นเพื่อพิจารณาว่าตนเหนือกว่าหรือด้อยกว่าผู้อื่น จุดมุ่งหมายในการปฏิบัติของ[พระพุทธะ]คือช่วยแม้แต่ผู้ที่อยู่ในภูมิชีวิตต่ำให้พ้นทุกข์ ดังนั้น จึงไม่มีเหตุผลที่พวกเราจะมีความกังวลเรื่องความด้อยกว่า อย่างไรก็ตาม พวกเราต้องไม่มีหัวใจ[ทะนงตัวและดูถูกผู้อื่น]บุคคลเช่นนั้นจะพ่ายแพ้และถูกตัดสิทธิ์จากการช่วยเหลือให้พ้นทุกข์ของ พระพุทธะ เนื่องจากพวกเขาไม่ปฏิบัติศาสนาพุทธอย่างทุ่มเท



วันนี้ขอให้ก้าวหน้าต่อไปบนวิถีทางที่ชาญฉลาด

การเรียนรู้ทำให้เราเปิดโลกใหม่ได้

จงพยายามเรียนรู้จากกัลยาณมิตร

จงท้าทายอยู่เสมอเพื่อเสริมสร้าง[ปัญญา]ของเรา