ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: สิงหาคม 31, 2010, 08:53:29 pm »

 :13:  อนุโมทนาครับพี่แทน
ข้อความโดย: แปดคิว
« เมื่อ: สิงหาคม 31, 2010, 08:43:36 pm »



คราวนี้เราก็มาตรวจสอบตัวเองว่า ทานของเราได้ผลสมบูรณ์ไหม เริ่มตั้งแต่ด้านจิตใจว่าเจตนาของเราดีไหม

เจตนานั้นท่านยังแยกออกไปอีกเป็น 3 คือ

๑. บุพเจตนา เจตนาก่อนให้ คือตั้งแต่ตอนแรก เริ่มต้นก็ตั้งใจดี มีความเลื่อมใส จิตใจเบิกบาน และตั้งใจจริง แข็งแรงมีศรัทธมาก..

๒. มุญจนเจตนา ขณะถวายก็จริงใจจริงจัง ตั้งใจทำ ด้วยความเบิกบานผ่องใส มีปัญญา รู้เข้าใจ

๓. อปราปรเจตนา ถวายไปแล้ว หลังจากนั้น ระลึกขึ้นเมื่อไรจิตใจก็เอิบอิ่มผ่องใส ว่าที่เราทำไปนี้ดีแล้ว ทานนั้นเกิดผลเป็นประโยน์ เช่น ได้ถวายบำรุงพระศาสนา พระสงฆ์จะได้มีกำลัง แล้วท่านก็จะได้ปฏิบัติศาสนกิจ ช่วยให้พระศาสนาเจริญงอกงามมั่นคงเป็นปัจจัยให้สังคมของเราอยู่ร่มเย็นเป็นสุข นึกขึ้นมาเมื่อไรก็เอิบอิ่มปลื้มใจ ท่านใช้คำว่า "อนุสรณ์ด้วยโสมนัส"

ถ้าโยมอนุสรณ์ด้วยโสมนัสทุกครั้งหลังจากที่ทำบุญไปแล้ว โยมก็ได้บุญทุกครั้งที่อนุสรณ์นั่นแหละ คือระลึกขึ้นมาคราวไหนก็ได้บุญเพิ่มคราวนั้น

นี่คือเจตนา 3 กาล ซึ่งเป็นเรื่องสำหรับทายก


สำหรับปฏิคาหก คือผู้รับ ถ้าเป็นผู้มีศีล มีคุณธรรมต่าง ๆ มาก ก็ถือว่าเป็นบุญเป็นกุศลมาก เพราะจะได้เกิดประโยชน์มาก เช่นพระสงฆ์ เป็นผู้ทรงศีล ทรงไตรสิกขา ท่านก็สามารถทำให้ทานของเราเกิดผลงอกเงยออกไปกว้างขวาง เป็นประโยชน์แก่ประชาชน ช่วยให้ธรรมแผ่ขยายไปในสังคม ให้ประชาชนอยู่ร่มเย็นเป็นสุข และดำรงพระศาสนาได้จริง

ส่วนไทยธรรม* คือวัตถุที่ถวาย ก็ให้เป็นของบริสุทธิ์ได้มาโดยสุจริต สมควรหรือเหมาะสมแก่ผู้รับ และใช้ได้เป็นประโยชน์



*ไทยธรรม มาจากภาษาบาลีว่า เทยฺยธมฺม แปลว่า สิ่งที่จะพึงให้ หรือของที่ควรให้

ที่มา : "ก้าวไปในบุญ" พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
http://www.dhammathai.org/store/talk/view.php?No=100