ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 04, 2010, 07:34:11 pm »

 :12: น่ารักจังพี่ต้อง
ขอบคุณนะครับน้องฝน
ข้อความโดย: สายลมที่หวังดี
« เมื่อ: กันยายน 03, 2010, 09:29:34 pm »

แปรงฟัน แปรงฟันกันเถอะ
แปรงเยอะๆ ร่างกายแข็งแรง
โรคภัยไม่ต้องระแวง
ร่างกายแข็งแรง แปรงฟันกันเถอะ :47:
ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: กันยายน 03, 2010, 09:05:49 pm »

เตือนคนขี้เกียจแปรงฟัน ระวังโรคหัวใจถามหา
 
เอเจนซีส์ – พบคนที่แปรงฟันวันละไม่ถึง 2 ครั้ง มีแนวโน้มมากขึ้นที่จะหัวใจวาย เนื่องจากเท่ากับเป็นการเปิดโอกาสให้แบคทีเรีย 700 ชนิดแทรกซึมเข้าสู่กระแสเลือด

แม้รู้กันอยู่แล้วว่าโรคเหงือกเพิ่มความเสี่ยงโรคหัว ใจ แต่นี่ถือเป็นงานวิจัยชิ้นแรกที่ชี้ให้เห็นความเชื่อ มโยงระหว่างโรคนี้กับ พฤติกรรมการแปรงฟัน

ผลศึกษาพบคนที่ไม่เคยหรือไม่ค่อยแปรงฟันมีความเสี่ยง เพิ่มขึ้น 70% ที่จะเป็นโรคหัวใจ เมื่อเทียบกับคนที่แปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง

ก่อนหน้านี้ นักวิจัยพบว่าสุขภาพฟันที่ย่ำแย่และการมีเลือดออกตาม ไรฟันช่วยให้แบคทีเรีย 700 ชนิดแทรกซึมเข้าสู่กระแสเลือด เพิ่มความเสี่ยงหัวใจวายไม่ว่าคนๆ นั้นจะแข็งแรงหรือไม่ก็ตาม

ทั้งนี้ การที่แบคทีเรียเข้าสู่กระแสเลือดอาจไปกระตุ้นการทำง านของระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้ผนังเส้นเลือดอักเสบและตีบลง หรือเกาะกับไขมันสะสมที่อุดตันเส้นเลือดอยู่แล้วโดยต รง ทำให้เส้นเลือดยิ่งแคบลง

ในการศึกษาล่าสุด นักวิจัยจากยูนิเวอร์ซิตี้ คอลเลจ ออฟ ลอนดอนได้วิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างกว่า 11,000 คน ที่มีอายุเฉลี่ย 50 ปีขณะเข้าร่วมการสำรวจสุขภาพของสกอตแลนด์

กลุ่มตัวอย่างต้องให้ข้อมูลว่าไปพบทันตแพทย์และแปรงฟ ันบ่อยแค่ไหน ประวัติการรักษาพยาบาลทั้งของกลุ่มตัวอย่างและประวัต ิการเป็นโรคหัวใจของคน ในครอบครัว รูปแบบการใช้ชีวิต เช่น การสูบบุหรี่ และการออกกำลังกาย ซึ่งนักวิจัยพบว่ามีกลุ่มตัวอย่างเพียง 62% ไปพบทันตแพทย์ทุก 6 เดือน ขณะที่ 71% แปรงฟันวันละ 2 ครั้ง

อีก 8 ปีต่อมา พบกลุ่มตัวอย่าง 555 คนมีปัญหาโรคหัวใจรุนแรง ในจำนวนนี้ 170 คนเสียชีวิต

รายงานที่อยู่ในบริติช เมดิคัล เจอร์นัลอธิบายว่า คนที่ไม่เคยหรือไม่ค่อยแปรงฟันมีแนวโน้มเป็นโรคหัวใจ มากกว่าคนที่แปรงฟันวัน ละ 2 ครั้งถึง 70% ไม่ว่าจะพิจารณาปัจจัยอื่นๆ เช่น โรคอ้วน การสูบบุหรี่ ลำดับชั้นทางสังคม และประวัติครอบครัว ประกอบด้วยหรือไม่ก็ตาม

สุขภาพช่องปากที่ย่ำแย่ยังเชื่อมโยงกับการอักเสบระดั บต่ำในเลือด

“ผลวิจัยของเรายืนยันและบ่งชี้เพิ่มเติมถึงความเชื่อ มโยงระหว่าง สุขภาพช่องปากกับความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใ จ” ศาสตราจารย์ริชาร์ด วัตต์ ผู้นำการทดลองกล่าวและเสริมว่า การอักเสบที่เพิ่มมากขึ้นเชื่อมโยงกับพฤติกรรมการแปรงฟัน
ขอบคุณ  http://www.junjaowka.com/webboard/showthread.php?t=120606