ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: โลกส่วนตัว
« เมื่อ: กันยายน 15, 2010, 07:25:16 pm »

 :46:
อนุโมทนา คร้าฟ
ข้อความโดย: สายลมที่หวังดี
« เมื่อ: กันยายน 15, 2010, 07:15:25 pm »

เข้ามารับพรค่ะ ขอบคุณนะค่ะพี่แป๋ม
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 15, 2010, 05:17:30 pm »

ขอบคุณสำหรับข้อคิดเพื่อชีวิตดีงามค่ะ พี่แป๋ม

 :13:


ป.ล. ว่าแต่....
"ท่านให้..."
ท่านนี่ใครเหรอคะ พี่แป๋ม  :12:



ท่าน  ว.วชิรเมธี ค่ะ ขอบคุณน้องบัวนะคะ...
ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: กันยายน 08, 2010, 09:49:10 pm »

อนุโมทนางับพี่แป๋ม
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 04, 2010, 09:13:17 pm »

 :13: อนุโมทนาครับพี่แป๋ม
ข้อความโดย: ดอกโศก
« เมื่อ: กันยายน 04, 2010, 03:52:59 pm »

ขอบคุณสำหรับข้อคิดเพื่อชีวิตดีงามค่ะ พี่แป๋ม

 :13:


ป.ล. ว่าแต่....
"ท่านให้..."
ท่านนี่ใครเหรอคะ พี่แป๋ม  :12:

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 04, 2010, 03:02:52 pm »

           

      ...ท่านได้ให้พร 4 ข้อ ดังนี้ ...ว.วชิรเมธี
                     

 1. อย่าเป็นนักจับผิด

คนที่คอยจับผิดคนอื่น แสดงว่า หลงตัวเองว่าเป็นคนดีกว่าคนอื่น ไม่เห็นข้อบกพร่องของตนเอง
“กิเลสฟูท่วมหัว ยังไม่รู้จักตัวอีก”
คนที่ชอบจับผิด จิตใจจะหม่นหมอง ไม่มีโอกาส “จิตประภัสสร”
ฉะนั้น จงมองคน มองโลกในแง่ดี  “แม้ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ถ้ามองเป็น ก็เป็นสุข”


2. อย่ามัวแต่คิดริษยา

“แข่งกันดี ไม่ดีสักคน ผลัดกันดี ได้ดีทุกคน”
คนเราต้องมีพรหมวิหาร 4 คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
เรามีชื่อว่า “เจ้ากรรมนายเวร”  ถ้าเขาสุข เราจะทุกข์  ฉะนั้นเราต้องถอดถอน
ความริษยาออกจากใจเรา เพราะไฟริษยาเป็น “ไฟสุมขอน” (ไฟเย็น) เราริษยา 1 คน เราก็มีทุกข์ 1 ก้อน
เราสามารถถอดถอนความริษยาออกจากใจเราโดยใช้วิธี “แผ่เมตตา” หรือ ซื้อโคมมา แล้วเขียนชื่อคนที่เราริษยา
แล้วปล่อยให้ลอยไป

3. อย่าเสียเวลากับความหลัง
 
90% ของคนที่ทุกข์ เกิดจากการย้ำคิดย้ำทำ “ปล่อยไม่ลง ปลงไม่เป็น”
มนุษย์ที่สลัดความหลังไม่ออก เหมือนมนุษย์ที่เดินขึ้นเขาพร้อมแบกเครื่องเคราต่างๆ ไว้ที่หลังขึ้นไปด้วย
ความทุกข์ที่เกิดขึ้นแล้ว จงปล่อยมันซะ
“อย่าปล่อยให้คมมีดแห่งอดีต มากรีดปัจจุบัน”
“อยู่กับปัจจุบันให้เป็น” ให้กายอยู่กับจิต จิตอยู่กับกาย คือมี “สติ” กำกับตลอดเวลา

4. อย่าพังเพราะไม่รู้จักพอ
 
“ตัณหา” ที่มีปัญหา คือ ความโลภ ความอยากที่ เกินพอดี เหมือนทะเลไม่เคยอิ่มด้วยน้ำ ไฟไม่เคยอิ่มด้วยเชื้อ  ธรรมชาติของตัณหา คือ “ยิ่งเติมยิ่งไม่เต็ม”
ทุกอย่างต้องดูคุณค่าที่แท้ ไม่ใช่ คุณค่าเทียม เช่น คุณค่าที่แท้ของนาฬิกา คืออะไร คือ ไว้ดูเวลา ไม่ใช่มีไว้ ใส่เพื่อความโก้หรู

คุณค่าที่แท้ของโทรศัพท์มือถือ คืออะไร คือไว้สื่อสาร แต่องค์ประกอบอื่นๆ ที่เสริมมาไม่ใช่ คุณค่าที่แท้ของโทรศัพท์
เราต้องถามตัวเองว่า ” เกิดมาทำไม ” “คุณค่าที่แท้จริงของการเกิดมาเป็นมนุษย์อยู่ตรงไหน” ตามหา “แก่น” ของชีวิตให้เจอ
คำว่า “พอดี” คือถ้า “พอ” แล้วจะ”ดี”   รู้จัก “พอ” จะมีชีวิตอย่างมีความสุข


http://www.pamame.com/magazine/category/%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%95%e0%b8%b4%e0%b9%83%e0%b8%99%e0%b9%80%e0%b8%a3%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%99%e0%b9%83%e0%b8%88