ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 09:14:25 pm »

 :45: ขอบคุณครับพี่แป๋ม อนุโมทนาครับ
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 12:59:15 pm »


พุทธเกษตร

วันหนึ่งระหว่างพระพุทธเจ้าทรงออกบิณฑบาต ในช่วงฤดูไถหว่าน มีคหบดีชาวนาวรรณะสูง นามว่า ภารัทวัช  ได้เข้ามายืนขวางแล้วกล่าวบริภาษว่า
 
"พวกเราเป็นชาวนา เราไถ หว่าน ใส่ปุ๋ย เฝ้าดูแล และเก็บเกี่ยว จึงจะได้กิน ส่วนพวกท่านไม่ทำอะไรเลย ท่านไม่ได้ผลิตอะไรเลย แต่ก็ยังได้กิน พวกท่านนั้นไร้ประโยชน์ พวกท่านไม่ได้ไถ ไม่ได้หว่าน ไม่ได้ใส่ปุ๋ย ไม่ได้เฝ้าดูแล หรือเก็บเกี่ยว"
 
"ดูกร คหบดี พวกเราประกอบ การงาน เราไถ หว่าน ใส่ปุ๋ย เฝ้าดูแล และเก็บเกี่ยว"
 
"แล้วท่านไถนาที่ใดเล่า ไหนเล่ากระบือของท่าน เมล็ดพันธุ์ของท่าน ท่านเฝ้าดูแลพืชผลอะไร ท่านเก็บเกี่ยวพืชผลชนิดใด"




 
ทรงมีพุทธดำรัสตอบว่า "เราหว่านเมล็ดพันธุ์แห่งศรัทธา
ในผืนนาแห่งจิตเดิมแท้ คันไถของเราคือสติ กระบือของเราคือการปฏิบัติอย่างพากเพียร
สิ่งที่เราเก็บเกี่ยวได้คือความรัก และความเข้าใจ ดูกรคหบดี
ปราศจากศรัทธา ความเข้าใจ และความรักแล้วไซร้ ชีวิตย่อมไม่มีอะไรนอกจากความทุกข์"

 
          จากหนังสือ คือเมฆสีขาว ทางก้าวเก่าแก่ เล่ม ๒