ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: Siranya
« เมื่อ: กันยายน 29, 2010, 11:14:37 am »

 :45: :45:อนุโมทนาด้วยจ้ะ สาธุ ๆ ๆ :13: :13:
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 29, 2010, 11:03:10 am »

อนุโมทนาครับพี่กัลยา :13:
ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: กันยายน 28, 2010, 12:46:44 pm »







ทุกข์เป็นสิ่งที่ควรกำหนดรู้ไม่ใช่เราไปกำหนดรู้เหมือนเป็นเราที่ไปกำหนด

เมื่อใช้คำว่ากำหนดเป็นภาษาไทยแต่กำหนดนั้นเป็นเรื่องของปัญญาทั้งหมด คือ ความ

เข้าใจคล้อยตามความเป็นจริงคล้อยตามเหตุผลซึ่งภาษาบาลีคำว่า สัลลักขณา

ก็ดี อุปลักขณาก็ดี ปัจจุปลักขณาก็ดี ทั้ง 3 คำนี้มีความหมายอย่างเดียวกัน

ต่างกันที่บทอุปสรรคที่อยู่ข้างหน้าเท่านั้นถึงแม้ว่าในสำนวนการแปลจาก พระไตรปิฎก

จะแปลว่า กำหนด ก็ตามแต่เมือพิจารณาจากรูปศัพท์ในภาษาบาลีแล้วแปลว่า.......................

พิจารณาก็ได้ หรือ รู้ ก็ได้ซึ่งเป็นการพิจารณาหรือรู้ลักษณะของสภาพธรรมไม่ใช่

ตัวตนที่ไปกำหนดแต่เป็นกิจหน้าที่ของปัญญาที่เกิดขึ้นทำกิจหน้าที่ของปัญญา คือ........................

รู้ลักษณะของสภาพธรรม ซึ่งเป็นสิ่งที่มีจริงมีลักษณะให้รู้ได้นั่นเอง

     

พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี เล่ม 1 ภาค  -  หน้าที่ 387


ใน นิทเทสแห่งปัญญินทรีย์ธรรม ที่ชื่อว่า ปัญญา เพราะอรรถว่าการประกาศ

ให้รู้ คือ กระทำเนื้อความนั้น ๆ ให้แจ่มแจ้งอีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า ปัญญา เพราะ

ย่อมรู้ธรรมทั้งหลายโดยประการต่าง  ๆ มีความไม่เที่ยงเป็นต้นนั้น ๆ คำนี้เป็นบท

แสดงสภาวะของปัญญานั้น อาการที่รู้ทั่ว ชื่อว่า ปชานนา

ปัญญา ชื่อว่า วิจัย เพราะค้นหาธรรมมีความไม่เที่ยงเป็นต้น คำว่า ปวิจัย

นี้ท่านเพิ่มอุปสรรคเข้ามา ปัญญา ชื่อว่า ธรรมวิจัย เพราะค้นหาธรรม คือ สัจจะ

4 ธรรมที่ชื่อว่า สัลลักขณา ด้วยอำนาจการกำหนดอนิจจลักษณะเป็นต้นได้

สัลลักขณา นั่นแหละตรัสเรียกว่า อุปลักขณา ปัจจุปลักขณาโดยความต่างกันแห่ง

บทอุปสรรค.............................