ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ตุลาคม 01, 2010, 08:45:39 am »

 :13: อนุโมทนาครับพี่เล็ก^^
ข้อความโดย: lek
« เมื่อ: ตุลาคม 01, 2010, 03:23:24 am »

ศิลปแห่งความสงบ - สุข

ศิลปะแห่งความสงบ

คนที่เข้าใจว่าได้อะไรแล้วจะมีความสุขนั้น
ยังเข้าใจไขว้เขวอยู่สักหน่อย
ไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง
จิตใจที่สงบนั่นแหละคือความสุขที่แท้
แต่ส่วนมากไม่ค่อยเข้าใจในแง่นี้
เพราะสิ่งยั่วยวนในโลกนี้มีมากเหลือเกิน


คอยหลอกให้เราหลงอยู่ตลอดเวลา
หลอกให้เราพลั้งเผลออยู่ในอารมณ์นั้นตลอดเวลา
ปัญญารอบรู้จึงไม่เกิดขึ้น
เราต้องทำจิตใจของเราให้มั่นคง
ไม่ให้ง่อนแง่นคลอนแคลน
เราก็จะพบความสงบที่แท้จริงได้


ศิลปะแห่งความสุข

เมื่อเราต้องการจะอยู่อย่างสงบสุขแล้ว
ทำไมเราจึงไปคิดเรื่องให้มันมีความทุกข์ใจ
คิดเรื่องให้เกิดความร้อนอกร้อนใจ
นั่งกลุ้มใจอยู่ด้วยเรื่องปัญหาเล็กๆน้อยๆ
ซึ่งมันเกิดขึ้นในชีวิตของเรา

อย่างนี้ก็เรียกว่า...
คิดเรื่องให้ตนเกิดความทุกข์นั่นเอง
ไม่มีใครมาทำให้แก่เรา แต่เราทำให้แก่ตัวเราเอง
การทำให้แก่ตัวเราเองก็คือว่า
คิดเรื่องนั้นขึ้นมาในแง่ที่ไม่ถูกต้อง
มองไม่ตรงตามสภาพที่เป็นจริง
เลยเกิดปัญหา...




จาก "ศิลปแห่งความเป็นมนุษย์"
โดย พระธรรมโกศาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)