ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: Plusz
« เมื่อ: ตุลาคม 08, 2010, 12:47:45 pm »


นพ.สญชัย วัฒนา รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก แนะวิธีช่วยดับร้อนแบบไทย ด้วยการใช้ตำรับยามาประยุกต์เป็นเครื่องดื่มสมุนไพรได้แก่ ตำรับตรีผลาหรือตรีผล คือการนำผลไม้ไทย 3 ชนิด ได้แก่ สมอไทย สมอพิเภก และมะขามป้อม มาปรุงเป็นยาปรับธาตุในหน้าร้อน
โดย สมอไทย มีรสเปรี้ยวฝาด ขม แทรกด้วยรสเค็ม สรรพคุณช่วยกัดเสมหะ แก้ไอ กระหายน้ำ แก้ท้องผูก แก้ไข้ บำรุงน้ำดี ช่วยทำให้ผิวพรรณเปล่งปลั่งรสฝาดช่วยสมานแผลแก้โรคกระเพาะอาหาร คนโบราณมักกล่าวว่ากินสมอไทยอย่างเดียวเท่ากับกินสมุนไพรหลายชนิด สมอพิเภก มีรสเปรี้ยวฝาด อมหวาน มีสรรพคุณตามตำรายาไทยแก้เสมหะ แก้ไข้และแก้โรคริดสีดวงทวาร ส่วนที่ใช้คือผลแก่เต็มที่ ส่วน มะขามป้อม มีรสเปรี้ยว ฝาดขม สรรพคุณแก้ไอ แก้เสมหะ ทำให้ชุ่มคอ มีวิตามินซีสูง
ยาตำรับตรีผลาสามารถใช้ได้ในทุกเพศทุกวัย และใช้ได้กับคนทุกธาตุ สำหรับวิธีการต้มยาตำรับตรีผลาในฤดูร้อน จะผสมอัตราส่วนของสมุนไพร สมอพิเภก 12 ส่วน สมอไทย 8 ส่วน มะขามป้อม 4 ส่วนผสมน้ำ 3 ลิตร ต้มให้เดือดเคี่ยวให้เหลือ 1 ส่วน เทกรองกากออก ดื่ม 30 ซีซี ก่อนอาหารเช้า - เย็น กรณีปรุงเป็นเครื่องดื่มสมุนไพร ใช้อัตราส่วน 1:1:1 เติมน้ำ 3 ลิตร หรือเจือจางกว่านี้ เติมเกลือ น้ำตาล ปรุงรสตามชอบ ชงดื่มในน้ำแข็ง ช่วยให้สดชื่นคลายร้อน