ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ตุลาคม 13, 2010, 07:36:10 pm »

 :13: อนุโมทนาครับ ขอบคุณครับพี่แป้ง
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ตุลาคม 13, 2010, 09:36:22 am »

 
 
            อนุโมทนาสาธุธรรมค่ะ น้องแป้ง   :13: :19:
ข้อความโดย: sasita
« เมื่อ: ตุลาคม 13, 2010, 08:48:34 am »



อาจารย์เซนผู้หนึ่งมีศิษย์ที่ชอบร้องทุกข์คร่ำครวญอยู่คนหนึ่ง และเนื่องจากทัศนะคติที่คับแคบนี้เอง ทำให้ศิษย์ผู้นี้มักจะมีแต่ความทุกข์กังวล จิตใจไม่เป็นสุข
       
       วันหนึ่ง อาจารย์เซนสั่งให้ศิษย์คนดังกล่าวไปตลาดซื้อเกลือมาถุงหนึ่ง เมื่อศิษย์กลับมาจึงสั่งให้นำเกลือมาหยิบมือหนึ่ง โปรยลงไปในแก้วบรรจุน้ำ แล้วให้ศิษย์ดื่มลงไป พลางกล่าวถามว่า “รสชาติของน้ำเป็นอย่างไร?”
       “เค็มจนขม” ศิษย์ตอบด้วยใบหน้าเหยเก
       
       จากนั้น อาจารย์เซนได้พาศิษย์ไปยังริมทะเลสาบ สั่งให้นำเกลือที่เหลือโปรยลงไปในทะเลสาบจนหมดสิ้น แล้วกล่าวว่า “ลองดื่มน้ำจากทะเลสาบดูสิ” ศิษย์จึงก้มตัวลงไปวักน้ำจากทะเลสาบขึ้นมาดื่ม
       
       อาจารย์เซนถามอีกว่า “คราวนี้รสชาติเป็นอย่างไรบ้าง?”
       ศิษย์ตอบว่า “รสชาติหวานสะอาด บริสุทธิ์ยิ่ง”
       “ยังมีรสเค็มหรือไม่?” อาจารย์ถามต่อ
       “ไม่มี” ศิษย์ตอบ
       
       อาจารย์เซนได้ฟัจึงผงกศีรษะเล็กน้อย ยิ้มพลางเอ่ยสืบไปว่า “ความทุกข์ในชีวิตคนเราก็เป็นดั่งเกลือ มันจะมีรสเค็มหรือรสจืด ล้วนขึ้นอยู่กับภาชนะที่รองรับ ขึ้นอยู่กับว่าเจ้าจะเป็นน้ำหนึ่งแก้ว หรือเป็นลำน้ำสายหนึ่ง”

 
 
ภาพจาก yanangel.spaces.live.com/
 
 
       ปัญญาเซน : คนเรา หากต้องการใช้ชีวิตบนโลกอย่างมีความสุข ทุกข์น้อย วิธีการคือต้องลดความทุกข์ เปิดใจให้กว้าง เมตตาต่อตนเอง อดกลั้นต่อผู้อื่น จึงจะมีชีวิตที่สุขสบาย ดำเนินชีวิตด้วยความเยือกเย็น นิ่งสงบ ไม่เร่งร้อน
       
       ที่มา : หนังสือ 《禅的故事精华版》, 慕云居 เรียบเรียง, สำนักพิมพ์ 地震出版社, 2006.12, ISBN 7-5028-2995-4
http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9530000143525