ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: พฤศจิกายน 07, 2010, 10:19:34 pm »

 :45: ขอบคุณครับพี่แป๋ม อนุโมทนาครับ
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: พฤศจิกายน 07, 2010, 08:33:43 pm »

       

นิทานเรื่องสั้นของท่านพุทธทาส  เรื่อง พ่อ-ลูก

พ่อ รู้สึกขบขัน แกมสงสาร อย่างไม่น้อย ที่เห็น ลูกชายคนโต ดีใจ จนเนื้อเต้น ในการที่ ได้รับ "ป็ากเก้อร ๕๑" ด้ามหนึ่ง เป็น ของขวัญ วันเกิด และ เห็น ลูกชายคนเล็ก ดีใจ มากไปกว่านั้น อีกหลายเท่า ในการได้รับ ลูกกวาด ของนอก กระป๋องเล็กๆ กระป๋องหนึ่ง เป็นของขวัญ ในโอกาส เดียวกัน แต่พ่อ ไม่รู้สึก ขบขัน หรือ สมเพชตนเอง ในการที่ ตนเอง ตื่นเต้น ยิ่งไปกว่า ลูกทั้งสองอีก ในการที่ได้รับ บัตรเชิญ ไปในงาน มีเกียรติ ชั้นพิเศษ ของเจ้านาย รายหนึ่ง ซึ่งตน ไม่เคยนึกฝัน ว่าจะได้รับ ด้วยอาการ มือสั่น ใจรัว แทบไม่เชื่อตา ตนเอง ว่า บัตรนั้น ส่งมาเชิญตน

นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า : มันเป็นการ เหลือวิสัย ในการที่จะให้ พ่อดีใจ จนเนื้อเต้น ในเมื่อ ได้รับปากกา ชนิดนั้น ด้ามหนึ่ง หรือ เมื่อได้ลูกกวาด กระป๋องหนึ่ง แต่ในที่สุด พ่อก็ไม่พ้น จากการที่ต้อง มีใจเต้นรัว มือสั่น ด้วยได้ กระดาษแผ่นเล็กๆ อันหมายความถึง เกียรติ อันหรูหรา จริงอยู่ รูปธรรม เช่น ด้ามปากกา หรือ ลูกกวาด มันไม่เหมือนกับ นามธรรม เช่น เกียรติ หรือ ไม่มีค่าสูง เท่าเทียมกัน แต่เราต้อง ไม่ลืมว่า มันสามารถ เขย่า ตัณหา (ภวตัณหา) ของคนได้โดยทำนองเดียวกัน โดยไม่มีผิด ในฐานะ ที่เป็นวัตถุ อันเป็นที่ตั้ง แห่งความพอใจ จนลืมตัว ได้เท่ากัน แล้วแต่ว่า ความใคร่ ของใครผู้ใด มีอยู่อย่างไร ส่วนความที่ ต้องใจเต้น มือสั่น เหล่านั้น ฯลฯ มันไม่มีผิด กันที่ตรงไหน เพราะฉะนั้น ใครเล่า ที่ควร สมเพชใคร ในระหว่าง พ่อ-ลูก รายนี้


คัดจากหนังสือ นิทานเซ็น มหรสพทางวิญญาณเพื่อจริยธรรม
เล่าโดย.. ท่านพุทธทาสภิกขุ แห่งสวนโมกขพลาราม ณ หอประชุมคุรุสภา
พุทธศักราช ๒๕๐๕ พิมพ์โดย ธรรมสภา


 :13: : http://www.kaewjamfa.org/article-51.php